Page 4 - เนื้อหางานไจก้า 03-11-17.indd
P. 4

➥  กิจกรรมนี้ไม่เพียงแค่หาข้อดีของตนเอง แต่ยังสามารถยืนยันข้อดีของตนเอง  ➥  ทุกคนจะมีวันที่เรารู้สึกถึงความรู้สึกนับถือตนเองแบบไม่มีเงื่อนไขปีละครั้ง วันนั้น คือ วันเกิด  กรุณาฉลองวัน

 รอบ 2 โดยฟังผู้ฟังพูดถึงข้อดีของเราด้วยค าพูดอื่นอีกรอบหนึ่ง    เกิดให้เด็ก  ๆ  ที่ตกเป็นผู้เสียหายด้วยกันที่ศูนย์  ฯที่เด็ก  ๆ  อาศัยอยู่  ซึ่งจะช่วยน าไปสู่การเสริมสร้างความรู้สึกนับถือ

                        ตนเองแบบไม่มีเงื่อนไข
 ➥  เด็ก ๆ ที่ตกเป็นผู้เสียหายคงจะไม่ค่อยมีประสบการณ์ที่ตนเองเป็นที่ยอมรับ

 ของคนรอบข้าง  คงจะมีแต่ประสบการณ์ที่เป็นฝ่ายถูกท าร้าย
                     ○ ความรู้สึกนับถือตนเองแบบมีเงื่อนไข ⇒ ความรู้สึกนับถือตนเองแบบอิงสังคม
 ➥  เคล็ดลับที่จะท าให้เราหาข้อดีของตนให้ได้หลายข้อ คือ การเปลี่ยนวิธีการคิด   ความรู้สึกนับถือตนเองจากพื้นฐานภายในนั้นเป็นความรู้สึกในขั้นต้น  จากนั้นความรู้สึกนับถือตนเองแบบมีเงื่อนไขก็
 (มุมมอง)               จะค่อยๆ สั่งสมเพิ่มพูนขึ้นไปทีละน้อย


 เช่น หัวแข็ง  →  มุ่งมั่น   เป็นความรู้สึกนับถือตนเองที่เกิดจากการเปรียบเทียบกับผู้อื่น
                        การมีความมั่นใจในตัวเองท าให้เรารู้สึกว่าเรามีคุณค่า  เช่น  เราท าอะไรได้  เปรียบเทียบตัวเองกับคนอื่นแล้ว  เราเป็น
 ➥  การเปลี่ยนมุมมอง วิธีคิด ท าให้ข้อเสียกลายเป็นข้อดีได้  จ าเป็นจะต้องมี
                        อย่างไร
 ผู้ใหญ่ที่สามารถช่วยหาข้อดี และยอมรับข้อดีของเด็กอยู่รอบข้างเด็กด้วย
                        “มีสิ่งที่เราท าได้” “เรามีประโยชน์” “เรามีคุณค่า” “เราเหนือกว่าผู้อื่น”

              ➥  ถ้าตัวเราเองไม่มีความตระหนักรู้ว่าตนเป็นผู้มีความส าคัญ เวลาที่เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน จะไม่เกิดพลังในการปัดการ

              คุกคามนั้นให้หลุดพ้นออกไปได้



              ➥  วิทยากรวาดถังแห่งอารมณ์ความรู้สึกลงบนกระดาษฟลิปชาร์ท


 เกี่ยวกับควำมรู้สึกนับถือตนเอง          (สรุปเนื้อหาส าคัญ 1 การเสริมสร้างพลังอ านาจ และความรู้สึกนับถือตนเอง)   มีความรู้สึกต่าง ๆ อยู่ในถัง เช่น ความกังวล ความกลัว ความอาย ฯลฯ


                  นี่เป็นอารมณ์ความรู้สึกที่รู้สึกตอนที่มีอันตรายเข้ามาใกล้ผู้ได้รับความเสียหาย  ถ้าตระหนักรู้ถึงความรู้สึกดังกล่าว  ก็จะรู้ได้ว่า
 ควำมรู้สึกนับถือตนเอง (Self-esteem) คือ
                  ก าลังมีอันตรายเข้ามาใกล้ตัว  หรือตอนนี้ตกอยู่ในอันตรายแล้ว กล่าวคือ  อารมณ์ความรู้สึกท าหน้าที่ส่งสัญญาณบอกให้เรารู้
 ○ ความรู้สึกในการประเมินคุณค่าตนเอง   ถึงสภาพปัจจุบัน
 ○
 ใบงาน  4
 ○ การอนุญาตให้ “ตนเองแตกต่างจากผู้อื่น” ได้ และมีความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง = การยอมรับตนเอง
 ○ การที่คิดได้ว่าผู้อื่นที่นอกเหนือไปจากตนเองก็สามารถคิดได้เช่นกันว่า “ฉันเป็นตัวของฉันเอง” = การยอมรับผู้อื่น   ➥  สิ่งส าคัญ คือ รู้สึกและรับรู้ได้ถึงสัญญาณอันตรายดังกล่าว และรู้สึกโกรธอย่างมีเหตุมีผลเพื่อส่งสัญญาณหยุด (NO) ให้อีก
 ○ เป็นสิ่งส าคัญในการรักษาไว้ซึ่งสุขภาพกายและใจที่ดี เช่นเดียวกันกับความรู้สึกต่อตนเองในเชิงบวก   ฝ่ายรับรู้  ความโกรธอย่างสมเหตุสมผลดังกล่าว คือ ความโกรธที่สื่อว่า “จะท าอะไรกับคนส าคัญอย่างฉันหรือ”


 ควำมรู้สึกนับถือตนเองมี 2 ประเภท (แบบมีเงื่อนไข และแบบไม่เงื่อนไข)   ถ้าไม่ตระหนักว่าตนเองเป็นคนส าคัญ (อยู่ในสภาพที่มีความรู้สึกนับถือตนเอง) ความโกรธดังกล่าวก็จะไม่เกิดขึ้น


 ○ ความรู้สึกนับถือตนเองแบบไม่มีเงื่อนไข  ⇒  ความรู้สึกนับถือตนเองจากพื้นฐานภายใน   ➥  การเสริมสร้างพลังอ านาจ คือ การน าพาตนเองออกมาจากความรู้สึกไร้พลังอ านาจ

 ความรู้สึกยอมรับทั้งข้อดีและข้อเสียของตน  และคิดได้ว่า  “เป็นเราอย่างนี้ดีแล้ว” “แบบนี้ก็มีความสุขเพียงพอแล้ว”
 โดยไม่สนใจผู้อื่นหรือสังคมภายนอก   ท าอย่างไรถึงจะเช็คได้ว่าตัวเองถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอยู่หรือไม่

 “ดีจังที่ได้เกิดมา” “ไม่ว่าจะท าอะไรได้หรือไม่ได้ เราก็มีคุณค่าของเรา”
 “เราเป็นตัวของเราเอง”    ➥  วิทยากรวาดถังแห่งอารมณ์ความรู้สึกใบใหม่ลงบนกระดาษฟลิปชาร์ท

 เป็นความรู้สึกจากส่วนลึกในใจของตน ที่จริงแท้แน่นอนและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ  ไม่ต้องเปรียบเทียบกับใคร   เช็คดูว่ามีความรู้สึกเบิกบานใจอยู่ในนี้หรือไม่ เช่น อิสระ ความสบายใจ ความมั่นใจ สนุก ดีใจ ฯลฯ
                เวลาที่มีอารมณ์ความรู้สึกลักษณะนี้อยู่ โอกาสในการละเมิดสิทธิมนุษยชนจะมีน้อย

 ถ้าคิดถึงความรู้สึกนับถือตนเองแบบไม่มีเงื่อนไขไม่ได้  ก็จะน าไปสู่ความคิดว่าเราไม่ต้องอยู่บนโลกนี้ก็ได้  ซึ่งจ าเป็น  แต่ถ้าไม่รู้สึกถึงอารมณ์ลักษณะนี้เลย และมีแต่อารมณ์ความรู้สึกเศร้า ทรมาน หวาดกลัว อับอาย ฯลฯ เข้ามาอยู่ในถัง ก็มีโอกาส
 จะต้องเพิ่มความรู้สึกนับถือตนเองแบบไม่มีเงื่อนไขให้สูงขึ้นและด ารงชีวิตต่อไป   ที่จะถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนได้

                อารมณ์ความรู้สึกดังกล่าวเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นได้ด้วยตา เราจะรู้สึกถึงความรู้สึกดังกล่าวได้ด้วยการมีสติตระหนักรู้เท่านั้น

 26                                                          27
   1   2   3   4   5   6   7   8   9