Page 6 - เนื้อหางานไจก้า 03-11-17.indd
P. 6

➥  คอร์เท็กซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า (Prefrontal cortex) หรือฮิปโปแคมปัส (Hippocampus) หดตัว / อมิกดะลา (Amygdala)      ไม่โทษตนเอง มีความเห็นอกเห็นใจ ห่วงความรู้สึกตนเอง

 เกิดการรับรู้ไวเกิน (Hypersensitivity)   ⇒   ความสามารถในการเรียนรู้ตกต ่าลง      ยอมรับความมุมานะพยายามของตน

 เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัว จะก่อให้เกิดความรู้สึกหวาดกลัวขั้นรุนแรง   มองหาใครสักคนที่สามารถไว้ใจได้มาเป็นผู้ให้ค าปรึกษา
                            ผู้ที่รับฟังและยอมรับในอารมณ์ความรู้สึกที่เรามี ⇒ เมื่อได้รับการยอมรับ อารมณ์ความรู้สึกก็จะสงบลงได้

 เคล็ดลับวิธีกำรดูแลตนเอง (ควรท ำให้เป็นนิสัย)   Recreation / Relaxation / Rest (กำรพักผ่อนหย่อนใจ)

 ○ รู้จักตนเองเป็นอย่างดี           ➥  ในที่นี้ จะใช้การ์ด 24 ใบแนะน าวิธีปฏิบัติในการดูแลความเครียด

 มองดูตนเองโดยปราศจากอคติ  ⇒  ใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่น เช็คลิสต์   (เนื่องจากมีลิขสิทธิ์ จึงไม่สามารถแสดงรายละเอียดทีละแผ่นได้
 ➥  ลองใช้ใบเช็คสัญญาณความเครียดตรวจวัดระดับความเครียดของตัวเองในขณะนี้ดู    แหล่งข้อมูล:24 Way of Calming feeling ¥1600 (ไม่รวมภาษี)  ผู้ที่สนใจ กรุณาติดต่อ Empowerment Kansai for Women

              and Children
              E-mail: info@en-kan.jp (เชิญสอบถามเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาญี่ปุ่น) https://www.en-kan.jp ))
 กิจกรรม :  ตรวจวัดระดับความเครียด

 สิ่งที่แจก:ใบงาน 6      24 วิธีที่ท ำให้จิตใจผ่อนคลำย                              (สรุปเนื้อหาส าคัญ 8 24 วิธีที่ท าให้จิตใจผ่อนคลาย)


 วัตถุประสงค์  ใช้ใบเช็คความเครียดประเมินระดับความเครียดของตนเอง
 รูปแบบ/สิ่งที่  รูปแบบ:แต่ละคนท าของตัวเอง    เวลาที่ใช้   15 นาที   วิธีทางกายภาพ

 เตรียม   สิ่งที่เตรียม:ใบเช็คสัญญาณความเครียด   1.  หายใจลึก ๆ

 ค าอธิบาย  1) ตรวจวัดระดับความเครียดของตัวเองตามใบเช็คสัญญาณความเครียด   ชูนิ้วขึ้นมาให้เป็นเหมือนกับแท่งเทียน สูดลมหายใจเข้าทางจมูก แล้วเป่าลมหายใจที่ละเอียดและยาวออกทางปาก
 เกี่ยวกับ  2) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนรอบข้างเกี่ยวกับความเครียด   ไปที่นิ้วที่เปรียบเหมือนแท่งเทียนโดยไม่ให้เทียนดับ วิธีนี้จะช่วยท าให้ระบบประสาทซิมพาเตติก (parasympathetic
 กิจกรรม   3) การรู้สภาวะของตนเอง คือ การตระหนักรู้ถึงก้าวแรกในการจัดการกับความเครียด        nerve system) ผ่อนคลายลง

                     2.  กระโดดเชือก

                          ไม่จ าเป็นจะต้องกระโดดเชือก แค่เคลื่อนไหวร่างกายเยอะ ๆ ก็มีผลท าให้จิตใจสงบผ่อนคลายลงได้
 ➥  การรู้สภาวะของตนเอง (จิตใจ ร่างกาย พฤติกรรม) คือ ก้าวแรกในการจัดการกับความเครียด   3.  แกว่งแขนขาไปมา

                          ร้องออกไปว่า “ความโกรธจงออกไป” พร้อมกับจินตนาการว่าความโกรธออกไปจากร่างกาย
 เคล็ดลับวิธีกำรดูแลตนเอง (ควรท ำให้เป็นนิสัย)   4.  โอบกอดตัวเองด้วยมือทั้ง 2 ข้าง

 ○ รู้จักตนเองเป็นอย่างดี   วิธีทางการมองเห็น
 มองดูตนเองโดยปราศจากอคติ  ⇒  ใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่น เช็คลิสต์   5.  มองสิ่งที่เคลื่อนไหวช้า ๆ
 ○ ตระหนักรู้ถึงความเครียด   6.  มองทัศนียภาพภายนอก

 ยอมรับว่าความเปลี่ยนแปลงทางสภาพจิตใจ ร่างกาย และพฤติกรรม เป็นสัญญาณที่บ่งบอกถึงความเครียด
                     7.  นึกถึงภาพของสถานที่ที่เงียบสงบ

                     8.  อ่านหนังสือ
 ➥  ความเครียดไม่ใช่สิ่งที่เลวร้ายเลยทีเดียว การรู้วิธีอยู่กับความเครียดอย่างดี (การดูแลความเครียด) เป็นสิ่งส าคัญ
 ○ อยู่ร่วมกับความเครียดให้ได้   วิธีทางการได้ยิน

 ยอมรับอารมณ์ความรู้สึกของตนเอง  ⇒  ตระหนักรู้ถึงถังแห่งอารมณ์ความรู้สึก   9.  ฟังดนตรีที่ชื่นชอบ

         การรับรู้อารมณ์ความรู้สึกเชิงบวก จะช่วยให้บรรเทาอารมณ์ความรู้สึกเชิงลบให้คลายลงได้   10.  ร้องเพลง (ฮัมเพลงก็ได้)
 ปรับเปลี่ยนความคิด “ยากล าบาก หนักหนา ไม่มีทางส าเร็จสมหวัง”   ⇒※   “เข้าใจ ท าได้ จะตั้งใจท าให้ได้”   11.  เล่าให้ใครสักคนฟัง
 มีเมตตาต่อตนเอง (Self-compassion)   ฟังด้วยหู ใช้ตาสังเกตสภาพในขณะที่ฟัง และใช้ใจฟังอย่างมีความรู้สึกร่วม



 30                                                          31
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11