Page 31 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 31

๓๐

                                                                                 ึ่
                                         ขั้นที่ ๗ เก็บรักษา ขั้นต่อไปหลังจากสามารถพงตนเองได้ พอมี พอเหลือท าบุญ
                                        ็
                  ท าทานแล้ว คือ การรู้จักเกบรักษา ซึ่งเป็นการตั้งอยู่ในความไม่ประมาท และการรู้จักเกบรักษา ยังเป็นการสร้าง
                                                                                         ็
                  รากฐานของการเอาตัวรอดในเวลาเกิดวิกฤตการณ์ โดยยึดแนวทางตามวิถีชีวิตชาวนาสมัยก่อนซึ่งเก็บรักษาข้าว

                  ไว้ในยุ้งฉาง เพื่อให้พอมีกินข้ามปี คัดเลือกและเก็บรักษา “ข้าวพันธุ์” ไว้ส าหรับเป็นพนธุ์ข้าวในปีต่อไปซึ่งผิดกับ
                                                                                       ั
                                                                                ั
                  วิถีชาวนาในปัจจุบันที่ใช้วิธีการขายข้าวทั้งหมด แล้วน าเงินที่ขายได้ไปซื้อพนธุ์ข้าวเพอปลูกในปีต่อไปส่งผลให้
                                                                                        ื่
                  เกิดการขาดความมั่นคงและเปรียบเสมือนการใช้ชีวิตอยู่บนเส้นทางสายความประมาท เพราะหากเกิดภัยแล้ง
                                                                                     ั
                  น้าท่วม ผลผลิตไม่ได้ตามที่ตั้งใจไว้ ย่อมหมายถึงปัญหาหนี้สินและการขาดแคลนพนธุ์ข้าวส าหรับปลูกในปีต่อไป
                  นอกจากเก็บพันธุ์ข้าวแล้ว ยังเน้นให้รู้จักวิธีการถนอมอาหาร การสะสม อาหาร ไว้กินในยามหน้าแล้ง ด้วยการ

                  แปรรูปอาหารหลากชนิด อาทิ ปลาร้า ปลาแห้ง มะขามเปียก พริกแห้ง หอมกระเทียม เพื่อเก็บไว้กินในอนาคต
                                         ขั้นที่ ๘ ขาย เนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่เศรษฐกิจการค้า แต่ก็ไม่ใช่เศรษฐกิจ

                  หลังเขาการค้าขายสามารถท าได้ แต่ท าภายใต้การรู้จักตนเอง รู้จักพอประมาณ และท าไปตามล าดับ โดยของที่ขาย

                                                                  ิ
                  คือ ของที่เหลือจากทุกขั้นแล้วจึงน ามาขาย เช่น ท านาอนทรีย์ ปลูกข้าวปลอดสารเคมี ไม่ท าลายธรรมชาติ
                  ได้ผลผลิตเก็บไว้พอกิน เก็บไว้ท าพันธุ์ ท าบุญ ท าทาน แล้วจึงน ามาขายด้วยความรู้สึกของการ “ให้” อยากที่จะ

                  ให้สิ่งดี ๆ ที่เราปลูกเอง เผื่อแผ่ให้กับคนอื่น ๆ ได้รับสิ่งดี ๆ นั้น ๆ ด้วยการค้าขายตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยง
                                                                                                           ี
                                                                                             ุ้
                                                                                          ื่
                  จึงเป็นการค้าที่มองกลับด้าน “เพราะรักคุณจึงอยากให้คุณได้รับในสิ่งดี ๆ”  พอเพยงเพออมชู เผื่อแผ่ แบ่งปัน
                                                                                      ี
                  ไปด้วยกัน
                                         ขั้นที่ ๙ เครือข่ายกองก าลังเกษตรโยธิน คือการสร้างกองก าลังเกษตรโยธิน หรือการสร้าง
                                              ื่
                  เครือข่ายเชื่อมโยงทั้งประเทศ เพอขยายผลความส าเร็จตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยง สู่การปฏิวัติแนวคิด
                                                                                         ี
                  และวิถีการด าเนินชีวิตของคนในสังคม ในชุมชน เพอการแก้ปัญหาวิกฤต ๔ ประการ อันได้แก่ วิกฤตการณ์
                                                             ื่
                                                                         ื
                  สิ่งแวดล้อม ภัยธรรมชาติ วิกฤตการณ์โรคระบาดทั้งในคน สัตว์ พช วิกฤตเศรษฐกิจ ข้าวยากหมากแพงวิกฤต
                  ความขัดแย้งทางสังคม ซึ่งเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ได้น้อมน าศาสตร์พระราชามาสู่

                  การปฏิบัติในระยะเวลากว่า ๓๐ ปีที่ผ่านจนได้ผลจริงในการปฏิบัติเพอแก้ไขปัญหาทั้งด้านดิน น้า ป่า และคน
                                                                           ื่
                      ั
                  จนพฒนาเป็นหลักการ แนวปฏิบัติตามศาสตร์พระราชา อย่างเป็นขั้นเป็นตอน เรียกว่า “ทฤษฎีบันได ๙ ขั้นสู่
                  ความพอเพียง มั่งคั่ง ยั่งยืน”

                                ขั้นตอนที่ ๕ วิทยากรน าเข้าสู่ประเด็น “หลักกสิกรรมธรรมชาติ” ด้วยการถามว่า “เกษตรกรรม

                  กับกสิกรรม ต่างกันอย่างไร”  ซึ่งค าว่า กสิกรรม มาจากค าบาลีว่า กสิกมฺม (อานว่า กะ-สิ-กัม-มะ) ซึ่งหมายถึง
                                                                                  ่
                                                  ั
                                            ั
                  การเพาะปลูก การไถ ความเป็นองหนึ่งอนเดียวกันกับธรรมชาติ และในส่วนค าว่า เกษตรกรรม หมายถึงการกระท า
                  ค าว่า เกษตรกรรม ใช้ตรงกับค าภาษาอังกฤษว่า agriculture จากความหมายของฝรั่ง แปลว่า “รวย” เป็นการใช้
                  ประโยชน์จากที่ดิน เช่นการเพาะปลูกพืชต่าง ๆ การป่าไม้ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ และการประมง เพื่อผลผลิต

                                      หัวใจของหลักกสิกรรมธรรมชาติ คือ “เลี้ยงดินให้ดินเลี้ยงพช” เราไม่เผา ไม่ท าลายหน้าดิน
                                                                                    ื
                  ไม่ปอกเปลือกเปลือยดิน แต่น าเศษไม้ ใบหญ้า เศษฟาง มาห่มดินไว้และรดด้วยน้ าปุ๋ยน้ าหมักแห้งชาม น้ าชาม

                  แล้วปล่อยให้จุลินทรีย์ท าหน้าที่ของมัน นั่นคืนหลักการคืนชีวิตให้แผ่นดิน เพราะดินมันตายแล้วดินตายหมายถึง
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36