Page 28 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 28
๒๗
ี
และที่มาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง และวิทยากรขออาสาสมัครจากผู้เข้าอบรมให้แสดงความคิด
ตามโจทย์ที่มอบให้ สู่การเชื่อมโยงเข้าในประเด็นถัดไป
ขั้นตอนที่ ๔ เข้าสู่บทเรียนในประเด็นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยบรรยายเกี่ยวกับ
แนวคิด ที่มา และผลกระทบจากระบบเศรษฐกิจทุนนิยมและสังคมนิยมก่อน เนื่องจากเป็นปรัชญาเบื้องหลัง
ของการก่อเกิดและเป็นแรงผลักดันของการสถาปนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นมรรควิธี และวิธีการ
ในการด าเนินชีวิตใหม่ของมวลมนุษยชาติ เพื่อให้เห็นความหมายของทฤษฎีหลักของโลก ๒ ทฤษฎี ที่ต่อสู้กันมา
และเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ดังนี้
๑) ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระบบเศรษฐกิจแบบ
ื่
เสรีนิยม มีเสรีภาพในการตัดสินใจว่า จะผลิตอะไร (What) ผลิต (How) ผลิตเพอใคร (Who) สามารถเลือกใช้
ทรัพย์สินท าการผลิตในสิ่งที่ตนถนัด และเห็นว่าจะน าผลก าไรมาให้มากที่สุด รัฐบาลไม่มีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้อง
หรือถ้ามีก็น้อยมาก โดยผู้วางรากฐานคือ อดัม สมิธ บิดาของระบบทุนนิยมเมื่อสามร้อยกว่าปีก่อน ซึ่งระบบทุนนิยม
ได้เติบโตมากในโลกภายใต้แนวคิดนี้ แต่น้ าหนักเกือบทั้งหมดไปอยู่ที่การสร้างความมั่งคั่งหรือ Growth โดยลืม
เรื่องความเห็นอกเห็นใจ หรือ compassion เน้นแต่การสร้างการเติบโต สร้างกาไร ท าให้ระบบทุนนิยมที่ผ่านมา
จึงมีปัญหามาก ไม่ว่าจะเป็นวิกฤติเศรษฐกิจ ปัญหาความเหลื่อมล้ า ความขัดแย้งทางการเมืองที่มีเหตุมาจากผลผลิต
ของระบบทุนนิยม หรือแม้แต่สงครามที่สะท้อนการแย่งชิงทรัพยากร พดได้ว่า ระบบทุนนิยมที่เน้นการเติบโต
ู
ื่
ได้สร้างปัญหาให้กับเศรษฐกิจโลกมาตลอด ไม่ว่าจะเป็นการท าลายป่า เพอเอาป่ามาแปลงเป็นเงิน สร้างความมั่งคั่ง
ท าลายดิน ด้วยการใส่สารเคมีลงดินเพอให้ได้ผลผลิตมากที่สุด มนุษย์ท าลายน้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากโรงงาน
ื่
ิ
ิ
ด้วยการปล่อยน้ าเสียลงน้ า มีอากาศที่เป็นพษ ตัวอย่างเช่น โรงงานที่จังหวัดระยอง ที่ปล่อยควัน สร้างมลพษ
ทางอากาศ ซึ่งพบไปทั่วทั้งโลก เกิดการล้างผลาญพลังงาน ล้างผลาญธรรมชาติด้วยว่ามนุษย์เดี๋ยวนี้เอาเงินเป็นสรณะ
และสิ่งที่เกิดขึ้นตามมาคือ มนุษย์เอาเปรียบกันเอง ผูกขาดทั้งโลก ตัวอย่างเช่น คนที่รวยที่สุดในโลก ๓ อนดับ
ั
มีทรัพย์สินเท่ากับคนยากจนครึ่งโลก อกทั้งเกิดการโกงกินและทุจริต ส่งผลให้คนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางคิด
ี
่
และความรู้ เช่น คนไม่กตัญญูรู้คุณอย่างในสังคมตะวันตกที่ลูกหลานไม่ดูแลพอแม่ครอบครัว เพราะด้วยระบบ
การจัดเก็บภาษีที่รัฐเรียกเก็บสูง เพราะต้องน ามาเป็นสวัสดิการให้กับคนสูงอายุ และในปัจจุบันสังคมไทยเริ่มมี
่
ค่านิยมและแนวคิดดังกล่าว เช่น เรียกร้องให้ยกเลิกพิธีไหว้ครู การกตัญญูรู้คุณต่อพอแม่ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลง
วิถีวัฒนธรรมอันดีของสังคมไทย
ประเทศไทยการพฒนาเศรษฐกิจจากเดิมสู่การเป็นระทุนนิยมโดยเริ่มจาก แผนพฒนา
ั
ั
เศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๐๔ ในสมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีแผนนี้ได้มี
การจ้างผู้เชี่ยวชาญชาวต่างชาติมาเขียนแผน ด้วยแนวคิดแบบระบบทุนนิยม ซึ่งจะมีค าขวัญที่เราคุ้นหูมาจนถึง
ั
ปัจจุบันนี้ คือ “งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข” ซึ่งก่อนจะมีแผนพฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ ๑
ี
สังคมไทยอยู่กันแบบพอเพยง เป็นสังคมแห่งการแบ่งปัน อยู่กันแบบเครือญาติ ส่งผลเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางความคิดในการใช้ชีวิต คือ คนเริ่มมีแนวคิด “มีเงินมากก็มีความสุขมาก มีเงินน้อยก็สุขน้อย” และมีภาพสะท้อน