Page 29 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 29

๒๘

                                                                                                     ึ่
                  การท างานของหน่วยงานรัฐที่มีผลกับประชาชน เช่น ในสมัยก่อนชาวนาไม่ได้ต้องการเงินกู้เพราะชาวนาพงตนเองได้
                                                                         ี
                                                                                        ึ่
                  กล่าวคือ สมัยก่อนท านา ไม่จ าเป็นต้องซื้อปุ๋ย ใช้มูลสัตว์บ ารุงดินก็เพยงพอแล้ว ไถนาก็พงพาวัวควาย และวิทยากร
                  ได้กล่าวถึงการท างานของตน ในครั้งเมื่อท างาน ธกส. ที่ต้องไปหาลูกค้ามากู้เงิน เกิดหนี้สินครัวเรือน ซึ่งเป็นปัญหา

                                                        ั
                                                                                              ี
                  ยาวนานมาจนถึงปัจจุบัน สาเหตุจากนโยบายพฒนาเศรษฐกิจ จูงใจประชาชนด้วย “เงิน” อกทั้งในแผนพฒนา
                                                                                                         ั
                  เศรษฐกิจฯ ฉบับที่ ๓ เน้นการผลิตและท าเกษตรเชิงเดี่ยว “ปลูกอย่างเดียว รวยแน่นอน” ชาวบ้านเริ่มปลูก
                  ข้าวโพด ปลูกมัน ปลูกออย และถ้าอยากผลผลิตเยอะเพอที่ได้ก าไรเยอะให้ใส่ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง
                                                                 ื่
                                      ้
                  ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ทรงรับสั่งระบบเศรษฐกิจแบบนี้ว่า “เศรษฐกิจคนตาโต” คนอยากมี
                  อยากได้ โดยไม่สนใจสิ่งแวดล้อมและคนอื่น ขอแค่ตนมั่งคั่ง ร่ ารวยพอ ซึ่งเป็นปัญหาอย่างยิ่ง

                                      ๒) ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม (Socialism) โดยผู้วางรากฐานแนวคิด คือ คาร์ล มาร์กซ์

                  เมื่อร้อยกว่าปีก่อน รัฐเข้าควบคุมและโอนกิจการธนาคารทั้งหมดมาเป็นของรัฐ การด าเนินกิจกรรมขนาดใหญ่

                                                                  ้
                  จะถูกควบคุมโดยรัฐ เช่น กิจการสาธารณูปโภค อาทิ ไฟฟา ประปา รถไฟ โทรศัพท์ และโทรคมนาคม รวมถึง
                                            ุ
                  อุตสาหกรรมหนักต่าง ๆ เช่น อตสาหกรรมป่าไม้ เหมืองแร่ อตสาหกรรมน้ ามันและพลังงาน กล่าวได้อย่างง่าย
                                                                    ุ
                  ว่า รัฐยึดทรัพย์สิน ยึดกิจการ ไม่เอาความเจริญ และรัฐเป็นผู้กระจายรายได้ จะเห็นได้แนวคิดของสังคมนิยมถูก

                  คิดขึ้นเพื่อต่อต้านแนวคิดแบบทุนนิยม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ทรงรับสั่งระบบเศรษฐกิจ
                  แบบนี้ว่า “เศรษฐกิจพวกคนหลังเขา”


                                         ซึ่งจากที่กล่าวถึงระบบเศรษฐกิจทั้ง ๒ ระบบ จะเห็นได้ว่าเป็นระบบที่สุดโต่ง
                  และไม่ตอบสนองการอยู่อยู่ร่วมกันแบบพงพากันของดิน น้ า ป่า คน และในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ประเทศไทยอยู่ภายใต้
                                                   ึ่
                   ิ
                  อทธิพลของสหรัฐอเมริกา ซึ่งคนไทยอยู่ท่ามกลางทั้งทุนนิยมและสังคมนิยม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                  รัชกาลที่ ๙ จึงได้พระราชทานชี้แนะ แนวทางการด าเนินชีวิต และปฏิบัติตนให้แก่ประชาชนทุกระดับทุกสาขา

                  วิชาชีพมาโดยตลอด พระองค์ทรงห่วงใยต่อสถานการณ์และปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และส่งผลกระทบต่อ

                  การด ารงชีวิตอยู่ของคนไทย และสังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์ จนกระทั่งเข้าสู่ห้วงเวลาที่ประเทศประสบวิกฤตการณ์
                  ทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง และภายหลังจากปัญหาวิกฤต พระองค์พระราชทานแนวทางแก้ไขปัญหา เพอให้
                                                                                                         ื่
                       ้
                                                                                                          ี
                  รอดพนและสามารถด ารงอยู่ได้ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทรงเตือนทุกฝ่ายให้รู้จักค าว่า "พอเพยง"
                  อย่าท าอะไรเกินตัว ท าอะไรต้องควรรอบครอบ ไม่ประมาท ด ารงชีวิตอย่างสมถะและสามัคคี ซึ่งจะน าพา
                                            ้
                                                                                               ี
                  ตนเองและประเทศชาติให้รอดพนภาวะวิกฤตต่าง ๆ และน าไปสู่ความสุขได้ “เศรษฐกิจพอเพยง” เป็นปรัชญา
                  แนวคิดที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของวิถีไทยทั้งในด้านการพัฒนาและการบริหารให้ด าเนิน ไปบน “ทางสายกลาง”

                                      ๓) ระบบเศรษฐกิจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง เป็นระบบเศรษฐกิจที่มุ่งต่อ
                                                                                   ี
                                                                                        ื่
                                                      ื้
                                                                                          ุ
                  ศักยภาพของประเทศที่มีความสมดุลเป็นพนฐาน โดยให้ความส าคัญกับการผลิตเพออปโภค บริโภค ส ารอง
                  และแบ่งปัน หลังจากนั้นจึงผลิตเพอการค้า ซึ่งประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะที่เป็นห่วงสอดร้อยประสานกัน
                                               ื่
                  เพอน าไปสู่การปฏิบัติ ได้แก่ ความพอประมาณ (ความพอดี ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน
                    ื่
                             ื่
                  ตนเองและผู้อน เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ) ความมีเหตุผล (การตัดสินใจเกี่ยวกับ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34