Page 27 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 27

๒๖

                                      จากนั้นจึงได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและแนวปฏิบัติของพระองค์ท่านอย่างจริงจัง เริ่มท างาน
                  สายพัฒนาชุมชนที่มุกดาหารหลังจากลาออกจากต าแหน่งเดิม มุ่งท างานกับชาวบ้าน เรียนรู้จากชาวบ้าน ทั้งใน

                                                                                                           ี
                                   ึ่
                  ด้านการเกษตร การพงตนเอง ใช้คนที่จบ ป.๔ เป็นครูสอน เรียนรู้ภูมิปัญญาจากเขา พอใจที่จะใช้ชีวิตอย่างพอเพยง
                                                                                             ื่
                  ลาออกจากงานที่มีเงินเดือนไปรับงานที่ไม่มีเงินเดือน จนแม่ด่า จึงได้อธิบายว่า งานนี้ท าเพอในหลวง บนที่ดิน
                  ของในหลวง แม่จึงเข้าใจและเต็มใจพร้อมให้ก าลังใจให้ท าให้เต็มที่ เริ่มต้นชีวิตใหม่ด้วยการเป็นคนที่สนองงาน

                  ในพระราชด าริ ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของ อ.ปัญญา และตั้งใจจะดูแลที่ดินส่วนพระองค์ในจังหวัด
                  นครนายกให้ดีที่สุด โดยมีแนวคิดว่า “การท างานให้พระองค์ท่านมีความสุข ไม่จ าเป็นต้องอยู่ใกล้ชิดท่าน

                                                   ่
                  ท าที่ไหนก็ได้ขอให้ราษฎรของพระองค์ทานมีความสุข”
                                      ปี ๒๕๔๕ ที่ดินกว่า ๑๔ ไร่ ท้ายเขื่อนขุนด่านปราการชล ซึ่งเป็นที่ดินส่วนพระองค์

                  ได้ถูกปรับให้เป็นอาศรมปัญญา เพอเป็นสถานที่รวบรวมแนวพระราชด าริเกี่ยวกับการท าเกษตรทฤษฎีใหม่
                                               ื่
                  ด้วยความร่วมมือของสมาคมศิษย์เก่าวชิราวุธและมูลนิธิชัยพัฒนา มี อ.ปัญญา เป็นผู้ดูแล มีอาคารไม้ไผ่เป็นที่ตั้ง
                  และตั้งใจจะดูแลที่ดินให้เป็นไปตามพระราชประสงค์ แต่ดินไม่ดีปลูกอะไรก็ไม่ขึ้น เพราะเป็นหินที่เกิดจาก

                  การระเบิดเขาเพอท าเขื่อน อ. ปัญญา เริ่มจากการท าให้ดู อยู่ให้เห็น ฟนฟดินโดยการห่มดิน และท าทุกอย่าง
                                                                                ู
                                ื่
                                                                             ื้
                  จับจอบ เสียม ทั้งที่ไม่ใช่งานที่ถนัด แต่อาศัยการเรียนรู้ ความพยายาม จนสามารถฟนฟดินได้ และได้รับการยอมรับ
                                                                                       ู
                                                                                    ื้
                                               ั
                                                    ื้
                  จากชาวบ้านที่ร่วมขับเคลื่อนการพฒนาพนที่ เมื่อดินดีจึงเริ่มปลูกต้นไม้ได้ อ.ปัญญาจึงสานต่อความคิดให้เกิด
                  อาศรมปัญญาอย่างสมบูรณ์ โดยแบ่งพนที่จ าลองการเกษตรของแต่ละภาค เหนือ กลาง อสาน และใต้ภาคีเครือข่าย
                                                ื้
                                                                                        ี
                  การเกษตร เป็นส่วนส าคัญที่ท าให้องค์ความรู้สมบูรณ์ เช่น การปลูกข้าวได้จากความรู้จากลุงทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
                  น้ ามันได้ความรู้จากผู้รู้เรื่องไบโอดีเซล ป่าได้ความรู้จากกลุ่มป่าต้นน้ าพะโต๊ะ
                                      อาศรมปัญญาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                  เป็นศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ เมื่อ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๔๕ ที่ดินแห่งนี้ กลายเป็นห้องเรียนชีวิตที่บรรจุความรู้

                  เกี่ยวกับการท าเกษตรทฤษฎีใหม่ มี อ.ปัญญา เป็นแกนหลักในการขับเคลื่อน และสร้างวิทยากรให้ความรู้
                  ภายในศูนย์ท าหน้าที่ให้ความรู้ผู้มาดูงาน ได้รับความช่วยเหลือจากเด็ก ๆ โรงเรียนใกล้เคียงร่วมเป็นมัคคุเทศก์น้อย

                                                                                                ั
                  และจากผืนนาที่เคยว่างเปล่า บัดนี้ได้เปลี่ยนไปเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิต ส าหรับราษฎรอนเป็นที่รักของ
                  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ และมีการพฒนาอยู่ตลอดเวลา และ อ.ปัญญา ตั้งใจจะด าเนินตามเป้าหมาย
                                                            ั
                  ที่ตั้งไว้ เพื่อสนองพระราชด าริจนกว่าชีวิตจะหาไม่

                                ขั้นตอนที่ ๓ ให้ผู้เข้าอบรมได้แสดงความคิดเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ ๓ ระบบ ได้แก่ ระบบทุนนิยม

                  ระบบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีโจทย์ ว่า “ระบบทุนนิยม ระบบสังคมนิยม

                  หรือคอมมิวนิสต์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในความคิดหรือความรู้ของท่าน เข้าใจว่าอย่างไร?” ซึ่งจากโจทย์
                  วิทยากรเน้นให้น าเสนอความคิดที่เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน อกทั้งในระหว่างผู้เข้าอบรมเขียนตอบค าถาม
                                                                       ี
                  วิทยากรจะสอดแทรกความรู้ภูมิปัญญาไทย สถานการณ์วิกฤตในปัจจุบันที่เกิดขึ้นเพอเชื่อมโยงเข้าสู่การหลักคิด
                                                                                      ื่
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32