Page 24 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 24

๒๓

                                                            บทที่ ๔

                            หลักกสิกรรมธรรมชำติกับระบบเศรษฐกิจพอเพียง และบันได ๙ ขั้นสู่ควำมพอเพียง
                                                  โดย อำจำรย์ปัญญำ ปุลิเวคินทร์

                                  ผู้อ ำนวยกำรศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชำติ จังหวัดนครนำยก มลนิธิชัยพัฒนำ
                                                                                 ู



                           วิทยากรใช้วิธีการบรรยายและใช้สื่อวีดิทัศน์ประกอบเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
                  รายละเอียดตามขั้นตอน ดังนี้


                                                                                                        ั
                                ขั้นตอนที่ ๑ วิทยากรกล่าวถึงที่มาของศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ โดย ส านักงานมูลนิธิชัยพฒนา
                                                                                         ั
                                                                 ื้
                                                                                                ั
                  ร่วมกับสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย ซึ่งเป็นพนที่แสดงแนวคิดโครงการอนเนื่องอนเนื่องมาจาก
                  พระราชด าริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาทิ ด้านการเกษตร ด้านปศุสัตว์ ด้านสิ่งแวดล้อม
                                       ั
                  และด้านพลังงานที่มุ่งการพฒนาด้วยการแก้ไขปรับปรุงคุณภาพของ คน ดิน น้ า ป่า อย่างเป็นระบบ จากสื่อวีดิทัศน์
                  “ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ จังหวัดนครนายก”  จาก https://www.youtube.com/watch?v=WRpJ59Za3Ew

                  โดยช่องภูมิรักษ์ ชัยพัฒนา บนเว็บไซต์ Youtube สรุปเนื้อหาจากสื่อได้ดังนี้
                                      - ที่แห่งนี้มีพนที่ ๑๔ ไร่ ๒ งาน ๑๘ ตารางวา เป็นที่ดินที่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงใช้
                                                ื้
                  พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ซื้อไว้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๒

                                      - ได้รับการพัฒนาจากสมาคมศิษย์เก่าวชิราวุธและมูลนิธิชัยพัฒนา น าโดย อ.สุเมธ ตันติเวชกุล
                                      - ความหมายของชื่อภูมิรักษ์ธรรมชาติ ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                  ทรงพระราชทานให้ คือ ผืนแผ่นดินที่แสดงแนวความคิดของพระเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
                                      - ปี พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๗ เริ่มมีการปรับปรุงพื้นที่ และได้น าดินจากการระเบิดภูเขามาถมที่

                                      - ต่อมามีแบ่งโซนตามภูมิภาคของประเทศ ได้แก่ ภาคเหนือให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์

                  ทรัพยากรธรรมชาติ ภาคกลางให้ความรู้ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ ภาคอสานให้ความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพเสริม
                                                                          ี
                  และภาคใต้ให้ความรู้ด้านพลังงานทดแทน นอกจากนั้น ยังมีเรื่องการจัดการน้ า ทั้งการบ าบัดน้ าเสีย และโซนไม้

                  ไผ่กับวิถีชีวิตคนไทย

                                      - มีการส่งเสริมการท าผลิตภัณฑ์ใช้เอง เช่น สบู่ก้อน สบู่เหลว น้ ายาล้างจาน สระผม
                  เป็นต้น โดยใช้วัตถุดิบจากสมุนไพรที่มีในพื้นที่

                                                                                ี
                                                                                                    ื่
                                      - การท าน้ าแดดเดียว โดยใช้ขวดแก้วใส ใส่น้ าและตั้งเอยง ๔๕ องศา ตากแดดเพอฆ่าเชื้อโรค
                  และท าให้โมเลกุลน้ าซึมเข้าสู่เซลล์ได้มากขึ้น ร่างกายจะได้รับการปรับสมดุลและขจัดของเสียได้ดี
                                      - การปลูกแฝก ลุ่มและดอน แฝกดอนรากจะสั้นกว่าแฝกลุ่ม จึงนิยมปลูกแฝกลุ่มมากกว่า

                  โดยนิยมปลูกรอบขอบบ่อ เพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดิน และกันวัตถุต่าง ๆ ไหลลงบ่อ
                                      - ที่นี่เน้นในเรื่องอย่าปอกเปลือกเปลือยดิน ให้ห่มดิน เพอให้เกิดความชุ่มชื้น เกิดสัตว์
                                                                                    ื่
                  หน้าดินที่จะคอยสร้างปุ๋ยให้ดินจากมูล และเป็นที่อยู่ของจุลินทรีย์ ท าให้ดินดี เกิดเป็นฮิวมัส ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อพืช
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29