Page 20 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 20

๑๙

                           ส าหรับวิธีการห่มดิน เริ่มจาก ห่มดินด้วยฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ รอบโคนต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้น
                  โดยเว้นให้ห่างจากโคนต้นไม้ ๑ คืบ ห่มหนา ๑ คืบ – ๑ ฟุต ท าเป็นวงเหมือนโดนัท โรยด้วยปุ๋ยคอก (มูลสัตว์) บาง ๆ

                                                                                                 ิ่
                                                                                                          ื้
                  และรดด้วยน้ าหมักชีวภาพผสมน้ าเจือจาง อตราส่วน ๑ : ๕๐-๑๐๐ ห่มดินในที่ดินผืนใหม่ที่เพงขุดปรับพนที่
                                                       ั
                  หรือดินที่เสื่อมสภาพ เพอปรับปรุงคุณภาพของดินก่อนเริ่มการเพาะปลูก ด้วยการห่มฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้
                                      ื่
                                                                                               ั
                  ให้หนาอย่างน้อย ๑ ฟต ทั้งแปลง โรยด้วยปุ๋ยคอก แล้วราดรดด้วยน้ าหมักชีวภาพผสมน้ าเข้มข้น อตราส่วน ๑ : ๑๐
                                   ุ
                  โดยวิธีนี้ เป็นการระเบิดดินที่แห้งแข็ง ให้มีความชุ่มชื้น (ฟางห่มคลุมดินเพอลดการระเหยของน้ าในดิน ปุ๋ยคอก
                                                                              ื่
                                                                                     ิ
                       ื่
                           ิ่
                  ที่ใส่เพอเพมอนทรียวัตถุ น้ าหมักท าหน้าที่ย่อยสลายทั้งปุ๋ยและฟาง ให้กลายเป็นอนทรียวัตถุได้เร็วขึ้น) ซึ่งวิธีนี้
                             ิ
                  อาจต้องใช้เวลา ๓ เดือนขึ้นไป โดยยังไม่ควรปลูกพืชใด ๆ เพราะน้ าหมักที่เข้มข้นอาจท าให้ต้นไม้ตายได้
















                                ลิงค์คลิปวิดีโอ : ห่มดิน ช่วยให้ดินเลี้ยงพืชเจริญเติบโต - YouTube

                           ๙. ฅนรักษ์ป่ำ


                                วิทยากรอธิบายถึงหลักการปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง และการปลูกต้นไม้แบบ
                                                                      ั
                  กสิกรรมธรรมชาติ ประกอบด้วยต้นไม้หลากหลาย ทั้งชนิดพนธุ์ ช่วงอายุ ลักษณะนิสัย และขนาดความสูง
                  โดยเราสามารถจัดแบ่ง ตามระดับช่วงความสูงและระบบนิเวศได้ ๕ ระดับ โดยให้ผู้เข้าอบรมร้องเพลง ป่า ๕ ระดับ

                  พร้อมท่าทางประกอบเพลง และอธิบายถึงหลักการป่า ๕ ระดับ ได้แก่
                                      ๑) ไม้สูง เป็นกลุ่มต้นไม้เรือนยอดสูงสุดและอายุยืนไม้ในระดับนี้ เช่น ตะเคียน ยางนา เต็งรัง

                                      ๒) ไม้กลาง เป็นกลุ่มต้นไม้ที่ไม่สูงนัก ไม้ในระดับนี้ได้แก่บรรดาไม้ผลที่เก็บกินได้ เช่น

                  มะม่วง ขนุน มังคุด กระท้อน ไผ่ สะตอ
                                      ๓) ไม้เตี้ย เป็นกลุ่มต้นไม้พมเตี้ย ไม้ในระดับนี้ เช่น พริก มะเขือ กะเพรา ผักหวานบ้าน ติ้ว
                                                           ุ่
                                      ๔) ไม้เรี่ยดิน ไม้ในระดับนี้เป็นตระกูลไม้เลื้อย เช่น พริกไทย รางจืด
                                      ๕) ไม้หัวใต้ดิน ไม้ในระดับนี้ เช่น ขิง ข่า มันมือเสือ บุก กวาวเครือ


                                ประโยชน์เพื่อให้ “พออยู่” คือ การปลูกต้นไม้ที่ใช้เนื้อไม้และไม้เชิงเศรษฐกิจให้เป็นป่าไม้กลุ่มนี้
                  เป็นไม้อายุยาวนานซึ่งจะเน้นประโยชน์ในเนื้อไม้เพอสร้างบ้าน ท าเครื่องเรือน และถือได้ว่าเป็นการออมทรัพย์
                                                            ื่
                  เพื่อสร้างความมั่นคงในอนาคตต้นไมกลุ่มนี้เช่น ตะเคียนทองยางนา แดง สัก พะยูง พะยอม เป็นต้น
                                                ้
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25