Page 16 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 16

๑๕

                           ๖. ฐำนฅนรักษ์น้ ำ

                                                                                ื่
                                วิทยากรอธิบายถึงวิธีการจัดการและอนุรักษ์น้ ารูปแบบอน ๆ ที่เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
                  ได้พัฒนาและน ามาประยุกต์ใช้ ซึ่งเรียกว่า การบ าบัดน้ าเสียโดยใช้จุลินทรีย์

                                วิธีที่ ๑ การใช้น้ าหมักชีวภาพ โดยการใช้น้ าหมักชีวภาพปริมาณ ๑ ต่อ ๕๐๐ ส่วน ราดลงทั้งใน

                                                                                                    ิ
                  น้ าทิ้งจากครัวเรือน ตลาดสด ฟาร์มปศุสัตว์ หรือโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อให้จุลินทรีย์ช่วยย่อยสลายอนทรีย์สาร
                  ในแหล่งน้ า นอกจากนี้น้ าหมักชีวภาพยังสามารถน าไปใช้ได้ดีในการปรับสภาพน้ าในบ่อประมงทั้งบ่อเลี้ยงกุ้ง

                  และปลาได้เป็นอย่างดี
                                                                     ื้
                                วิธีที่ ๒ ลูกระเบิดจุลินทรีย์ เป็นการบ าบัดฟนฟแหล่งน้ า ให้ดีขึ้นด้วยจุลินทรีย์ เช่นเดียวกับ
                                                                        ู
                  การใช้น้ าหมักประกอบด้วยโคลนจากท้องน้ า ๕๐ กิโลกรัม, ร า ๑๐ กิโลกรัม, ปุ๋ยอนทรีย์เม็ดหรือผง ๕๐ กิโลกรัม
                                                                                    ิ
                  และน้ าหมักชีวภาพที่หมัก จนได้ที่แล้ว ๓ เดือนขึ้นไป โดยน าทุกอย่างมาผสมเข้าด้วยกัน จนสามารถปั้นเป็น
                  ก้อนขนาดเท่าลูกเปตอง น าไปผึ่งไว้ในที่ร่มจนแห้ง สามารถน าไปบ าบัดน้ าได้ โดยใช้ในอตราส่วน ๕ กิโลกรัมต่อน้ า
                                                                                        ั
                  ๑ ล้านลิตรหรือ ๒๕-๕๐ กิโลกรัม ต่อพนที่ไร่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพน้ าที่เน่าเสียจากการทดลองของเครือข่าย
                                                    ื้
                  กสิกรรมธรรมชาติ พบว่า สามารถเพมค่า DO (Dissolved Oxygen) หรือค่าออกซิเจนที่ละลายในน้ าจาก 3.5 ppm
                                               ิ่
                                                                                                            ื
                  หรือส่วนในล้านส่วน เป็น 6.5 ppm ในเวลา ๒๒ นาที ออกซิเจนเป็นสิ่งที่จ าเป็นอย่างยิ่งส าหรับปลา, หอย, พช
                  และแอโรบิคแบคทีเรีย (แบคที่เรียที่ต้องการออกซิเจน) ถ้าหากค่า DO ในน้ าต่ ากว่า 3 ppm จะท าให้สิ่งมีชีวิต

                  ในน้ าอยู่ในภาวะถูกกดดัน ถ้าค่า DO ต่ ากว่า 2 ppm หรือ 1 ppm ปลาจะไม่สามารถด ารงชีวิตอยู่ได้ เนื่องจาก
                  ปลาจะด ารงชีวิตและท ากิจกรรมต่าง ๆ ตามปกติได้ที่ค่า DO 5-6 ppm ซึ่งเป็นสิ่งจ าเป็นมาก ส าหรับอตสาหกรรม
                                                                                                    ุ
                  การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ าการเพิ่มออกซิเจนในแหล่งน้ าช่วยให้เกิดแบคทีเรียที่สร้างสรรค์ขึ้น ส่งเสริมให้เกิด
                  สัตว์หน้าเลน เช่น ไส้เดือน แมลงในน้ า รวมทั้งไรน้ า ซึ่งเป็นอาหาร ธรรมชาติที่ส าคัญยิ่งของสัตว์น้ าพวก ปู กุ้ง

                  ปลา และหอย

                                จากนั้นวิทยากรอธิบายถึงหลักการท าคลองไส้ไก่ และการท าคลังอาหารปลา โดยพดถึง บ่อน้ า
                                                                                                   ู
                  หนองน้ า หรือคูคลอง นอกจากจะเป็นที่กักเก็บน้ าในฤดูฝน และเป็นแหล่งน้ าในฤดูแล้งแล้ว ยังใช้เลี้ยงปลา

                                              ึ่
                  เพอเป็นอาหารได้ เพอเป็นการพงพาตนเองและลดค่าใช้จ่ายเรื่องอาหารปลา เราสามารถสร้างแหล่งอาหาร
                    ื่
                                    ื่
                  ให้กับปลาและสัตว์น้ าต่าง ๆ ได้ ด้วยการท า "แซนด์วิชปลา" โดยใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อ
                  อาหารปลา และยังเป็นการบ าบัดรักษาน้ าด้วยการสร้างระบบนิเวศที่เหมาะสม สร้างอาหารปลอดภัยจากสารเคม  ี

                  โดยการท าแซนด์วิชปลาหรือคลังอาหารปลา มี ๒ รูปแบบ คือ
                                      ๑) แซนด์วิชปลาแบบคอกไม้ไผ่ โดยน าไม้มาตอกเป็นรูปครึ่งวงกลมที่ริมหนองน้ า

                                      ๒) แซนด์วิชปลาแบบเสวียน โดยน าไม้ไผ่มาเหลาเป็นซี่แล้วปักรอบ ๆ แล้วสานเหมือน

                  สานเข่ง โดยสานให้มีช่องห่างกัน ๑ ฝ่ามือ สลับกับช่องว่าง ๑ นิ้ว เพื่อให้ปลาสามารถมาตอดกินอาหารและสร้าง
                  ความแข็งแรงให้เสวียน น าไปไว้ริมหนองน้ า
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21