Page 17 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 17

๑๖

                                วัสดุ
                                   - ไม้ไผ่

                                  - ฟาง ผักตบชวา หรือใบไม้อื่น ๆ

                                   - ปุ๋ยคอก
                                   - น้ าหมักจุลินทรีย์ชีวภาพ

                                วิธีการท า

                                   ส าหรับบ่อน้ าหรือหนองน้ า จะท าแซนด์วิชปลาไว้ที่ริมตลิ่ง โดยใช้ล าไม้ไผ่ปักลงไปถี่ ๆ

                                                                                  ื้
                  ให้เป็นวงโค้งครึ่งวงกลม หากบ่อมีขนาดใหญ่ก็ควรจะท าหลาย ๆ จุด ส่วนในพนที่เล็ก เช่น คลองไส้ไก่หรือคูน้ า
                  รอบนาข้าว ก็สามารถเลี้ยงปลาได้เช่นกัน โดยใช้ไม้ไผ่เหลาแล้วสานเป็นเสวียน จากนั้นจึงน าไปปักลงไปในคลองไส้ไก่

                                                                                                            ุ
                  หรือคูน้ า เมื่อมีไม้ไผ่หรือเสวียนเป็นเสมือนภาชนะแล้ว จึงใส่ฟาง ผักตบชวา หรือใบไม้สุมลงไปให้มีความสูง ๑ ฟต
                  หรือ ๑ ศอก ย่ าให้แน่น ใส่ปุ๋ยคอก และรดน้ าหมักจุลินทรีย์ชีวภาพ โดยท าสลับกับเป็นชั้น ๆ จนเต็มคอกหรือเสวียน
                  เมื่อทิ้งไว้สักระยะ จุลินทรีย์ในปุ๋ยคอกและน้ าหมักจุลินทรีย์ชีวภาพจะช่วยย่อยเศษพช ท าให้เกิดแพลงก์ตอน
                                                                                        ื
                  หนอน และไรแดง ขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นอาหารชั้นดีของปลาและสัตว์น้ าทุกชนิด การบ ารุงรักษา หากวัสดุ

                  ที่ท าไว้ยุบลงก็เติมได้ สามารถใช้งานได้จนกว่าจะผุพัง



















                                ลิงค์คลิปวิดีโอ : ฐานเรียนรู้ฅนรักษ์น้ า องค์ความรู้การท าจุลินทรีย์บอล - YouTube

                           ๗. ฐำนหัวคันนำทองค ำ

                                หัวคันนา "ทองค า" คืออะไร ?

                                ท าไม ต้องสร้าง... สร้างแล้วได้ประโยชน์อะไร...!!

                                แล้วถ้าจะเริ่มท า ต้องเริ่มจากอะไร แล้วจะท าอย่างไร ถึงจะเรียกว่า "หัวคันนาทองค า"

                                จากนั้นวิทยากรอธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับค าว่า หัวคันนาทองค า ไม่ได้พงเกิดขึ้นแต่มีมานาน
                                                                                            ึ่
                                                        ื
                  ตั้งแต่ในอดีต ชาวนาสมัยก่อนนั้น นิยมปลูกพชผักบนหัวคันนา ดังนั้นหัวคันนาสมัยก่อนจึงมีขนาดที่ใหญ่ต่าง
                                                                                                  ื้
                  จากปัจจุบันที่มีขนาดเล็กลงจากแต่ก่อนมาก และไม่นิยมปลูกพชผักบนหัวคันนากัน เพราะคิดว่าเสียพนที่การท านา
                                                                    ื
                  แต่รู้หรือไม่ การปลูกพืชผักบนหัวคันนานั้นจะช่วยให้ชาวนา ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าอาหารไปได้มาก เพราะไม่ต้อง
                  ควักสตางค์ไปซื้อ และที่ส าคัญได้กินพืชผักที่ปลอดภัยไร้สารเคมี เอาง่ายๆ ว่าในระยะเวลาที่ชาวนารอผลผลิตจากข้าว
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22