Page 15 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 15

๑๔

                                         - เจ้าหน้าที่ธนาคารลงรายละเอียด สมาชิกในทะเบียนลูกค้า
                                         - เมื่อสมาชิกน าขยะรีไซเคิลมาฝาก ที่ธนาคาร เจ้าหน้าที่จะท าการคัดแยกประเภท

                  และช่างน้ าหนัก
                                         - คิดเป็นจ านวนเงิน โดยเทียบกับใบราคาที่ได้มาจากร้านรับซื้อของเก่า ลงบันทึก

                  ในใบน าฝาก
                                         - เจ้าหน้าที่บันทึกรายละเอียด เลขที่สมาชิก ประเภทขยะรีไซเคิล จ านวนเงิน ลงใน

                  เอกสารใบสรุปการน าฝาก
                                         - บันทึกลงในสมุดคู่ฝาก เพื่อเก็บเป็นหลักฐานการฝากถอนของสมาชิก

                                         - ถ้าสมาชิกต้องการถอนเงิน ให้เขียนรายละเอียด ใบถอนเงินแล้วให้กับเจ้าหน้าที่
                                         - ภายหลังเปิดธนาคารเสร็จสิ้น เจ้าหน้าที่ต้องท าการรวบรวมรายรับ รายจ่าย และทะเบียน

                  คุมเจ้าหนี้ของธนาคารในแต่ละวัน เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ การลงค่าใช้จ่าย การซื้อ ขายขยะรีไซเคิล
                  ลงในสมุดเงินสด เพื่อสามารถตรวจสอบการขาดทุน ก าไร

                                         - ควรมีการสรุปการด าเนินงาน ในแต่ละเดือน และแจ้งแก่สมาชิกของธนาคาร
                  โดยการจัดบอร์ดนิทรรศการ บริเวณที่ท าการ

                                                                                                          ู
                                                                                                       ื้
                                จากนั้นวิทยากรอธิบายถึงวิธีการบริหารจัดการขยะเปียกและเศษวัสดุในครัวเรือน และยังฟนฟดิน
                  ด้วยหลักการผ่าท้องช้าง หรือ เพอร์มาคัลเชอร์ (permaculture) เป็นแนวคิดและวิถีทางการเกษตรที่เน้นเรื่อง

                  ความยั่งยืนของชีวิตและสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นในต่างประเทศเมื่อกว่า ๓๐ ปีที่แล้ว องค์ความรู้แบบฝรั่งนี้ ไม่ได้จ ากัด
                      ี
                  อยู่เพยงการท าการเกษตร แต่ครอบคลุมถึงการออกแบบวิถีการด ารงชีวิตที่เกี่ยวข้องกับระบบเกษตรกรรม รวมถึง
                  การใช้ชีวิตของผู้คนในรูปแบบที่สอดคล้องกับวิถีธรรมชาติ โดยวิธีท าจะเป็นการปรับปรุงดินโดยใช้เศษอาหาร
                  หรือวัสดุตามธรรมชาติที่สามารถย่อยสลายได้มาฝังกลบ ใช้วิธีขุดร่องลึกประมาณ ๓๐-๕๐ ซม. กว้างประมาณ

                  ๕๐-๑๐๐  ซม. น าเศษอาหารมาฝังกลบในร่อง ที่จะท าการเพาะปลูกและใช้น้ าหมักจุลินทรีย์เป็นตัวช่วยย่อย

                                                                    ื
                  ใช้เวลาประมาณ ๑ เดือน จึงสามารถน ามาทาแปลงเพื่อปลูกพชได้ ซึ่งประโยชน์ ก็คือ เป็นการเอาวัสดุที่เหลือใช้
                  ในครัวเรือนที่สามารถย่อยสลายได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปรับปรุงบ ารุงดิน ช่วยลดต้นทุนในการปลูกพช
                                                                                                           ื
                                                                                        ื้
                                                                                                      ึ่
                                        ื
                  ช่วยประหยัดเวลารักษาพช และที่ส าคัญเราสามารถสร้างระบบนิเวศใหม่ขึ้นมาในพนที่ โดยไม่ต้องพงปัจจัย
                  ภายนอกพื้นที่ เป็นการสร้างความสมบูรณ์ให้กับผืนดินของเราอย่างยั่งยืน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20