Page 25 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 25

๒๔

                                      - ประโยชน์ของจุลินทรีย์ ๕ อย่าง ๑. ช่วยตรึงไนโตรเจนจากอากาศลงดิน ๒. ช่วยย่อยสลาย
                  ซากพืชซากสัตว์ ๓. ช่วยย่อยสลายแร่ธาตุ ๔. ช่วยผลิตสารป้องกันโรคพืช และ ๕. สร้างฮอร์โมนให้กับพืช

                                                                                                     ั
                                      - การน าของเสียจากการขับถ่ายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยใช้ถังเก็บและถังพกและน า
                  อุจจาระ ปัสสาวะมาใช้เป็นปุ๋ย โดยต้องผ่านกระบวนการหมัก ๑๕ วันหมดกลิ่น ๒๘ วันหมดเชื้อ
                                      - โซนภาคเหนือ เน้นในเรื่องการดูแลรักษาป่า มีการแสดงแนวคิดป่าเปียกป้องกันไฟ

                  โดยปลูกพืชที่มีลักษณะชื้น เช่น กล้วยเพื่อเป็นแนวกันไฟ
                                                                             ื
                                      - ป่า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่าง โดยการปลูกพชที่ให้ประโยชน์ ๓ อย่าง ได้แก่ พอกิน
                  อนได้แก่ไม้ที่เราปลูกไว้กิน เช่นพชผัก ผลไม้ พอใช้อนได้แก่ ไผ่ กล้วย เป็นต้น และพออยู่ ได้แก่ไม้ที่ใช้ส าหรับ
                   ั
                                             ื
                                                             ั
                  ท าที่อยู่อาศัยหรือไม้เศรษฐกิจ เช่น ยางนา สัก ตะเคียน มะค่า กระถินเทพา เป็นต้น ซึ่งเมื่อปลูกไม้ครบทั้ง
                  ๓ อย่างแล้ว จะเกิดประโยชน์อย่างที่ ๔ คือ พอร่มเย็น นั่นคือระบบนิเวศจะกลับคืนมาสมบูรณ์ มีร่มเงาให้

                  ความเย็นสบายต่อผู้อาศัย

                                      - การสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น เพื่อสร้างความชุ่มชื้นให้กับผืนดิน และพืชผักต่าง ๆ
                                      - การปลูกป่าในใจคน โดยสร้างจิตส านึกให้คนก่อน แล้วเขาจะอยากปลูกป่าเอง

                                                                          ื้
                                      - โซนภาคกลาง เกษตรทฤษฎีใหม่โดยยึดพนที่ ๑๕ ไร่เป็นหลัก เนื่องจากในช่วงนั้น
                                                                               ่
                  ค่าเฉลี่ยการถือครองที่ดินของเกษตรกรอยู่ที่ ๑๕ ไร่ต่อครัวเรือน พระองค์ทานเน้นในเรื่องความเรียบง่าย ผูกติด
                                                            ื้
                                                                                                     ื
                  กับธรรมชาติ พออยู่พอกิน พอแบ่งปัน โดยแบ่งพนที่ออกเป็น ๔ ส่วน แหล่งน้ า ๓๐ นาข้าว ๓๐ พชผัก ๓๐
                  และที่อยู่อาศัยและปศุสัตว์ ๑๐ มีการค านวณการใช้น้ าต่อการท ากิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่
                                                                          ้
                                      - จักรยานปั่นน้ า ลดค่าใช้จ่ายในการใช้ไฟฟาในการสูบน้ ารดต้นไม้ แต่ใช้แรงงานแทน
                  เป็นการออกก าลังกาย สามารถสูบน้ าลึกได้ ๓๐ เมตร ต่อท่อไกลได้ ๓๐ เมตร ต่อสปริงเกอร์ได้ ๓๕ หัว
                                      - คนติดดิน ได้ความรู้มาจากบ้านท่ามะไฟหวาน จังหวัดชัยภูมิ ที่นี่ท า ๒ แบบ มีแบบก่อ

                  และแบบปั้น แบบก่อจะต้องท าก้อนดินลักษณะเหมือนอิฐบล็อกและก่อเป็นชั้น ๆ เหมือนการก่อปูน ส่วนแบบปั้น

                  ต้องขึ้นโครงและน าดินมาพอกตามโครง ทั้งนี้จะต้องผสมดินให้พอเหมาะ
                                                                                            ื่
                                      - คลองไส้ไก่ เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ ขุดคลองโค้งไปมาเพอกระจายความชื้น
                  การขุดมี ๓ แบบ คือ แบบเชิงเขาซึ่งจะขุดขวางทางน้ าลดความเร็วของน้ า แบบเนินจะขุดเปลี่ยนทางน้ าไปทาง

                  ที่เราต้องการท าการเกษตร และแบบพนที่เรียบจะขุดโค้งไปมาตามที่เราต้องการ การขุดจะขุดกว้าง ๕๐ ซม.
                                                   ื้
                  ลึก ๕๐ ซม. เป็นรูปตัววี

                                                                                         ้
                                      - การส่งเสริมอาชีพ การปลูกผัก การเพาะเห็ดฟาง เห็ดนางฟา การเลี้ยงปลา การท า
                  ปุ๋ยหมักชีวภาพ
                                      - คันนาทองค า โดยท าคันนาให้มีขนาดใหญ่ ยกหัวคันนาให้สูงอย่างน้อย ๑ เมตร กว้าง

                  อย่างน้อย ๒ เมตร ไม่ปอกเปลือกเปลือยดิน ห่มดินด้วยฟาง ขุดคลองไส้ไก่ และปลูกพชผักที่มีความหลากหลาย
                                                                                        ื
                  ปลูกสิ่งที่เรากิน กินสิ่งที่เราปลูก
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30