Page 55 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 55
๕๔
บทที่ ๗
ฝึกปฏิบัติกำร “จิตอำสำพัฒนำ เอำมื้อสำมัคคี”
โดย ทีมวิทยำกร ศพช.ชลบุรี
ั
เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนแรงงาน เอามื้อสามัคคี และเป็นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในด้านการพฒนา
พื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรู้จักในชื่อ กิจกรรมการ “ลงแขก” หรือ “เอาแรง” ซึ่งเป็น
วัฒนธรรมชุมชนที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน โดยในช่วงหลังมานี้ นอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนในด้านแรงงาน
แล้วยังได้เน้นให้เกิดการสร้างความรู้ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยมีวิธีการ ดังนี้
๑) ด าเนินกิจกรรมการตั้งปณิธานจิตอาสา โดยทีมจิตอาสา ๙๐๔ ของจังหวัดชลบุรี โดยมี
นายภัครธรณ์ เทียนไชยผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี เป็นประธานในพิธีฯ
๒) เมื่อกิจกรรมการตั้งปณิธานจิตอาสา โดยทีมจิตอาสา ๙๐๔ จังหวัดชลบุรี ด าเนินการเสร็จสิ้น
ั
เรียบร้อยแล้ว วิทยากรของศูนย์ศึกษาและพฒนาชุมชนชลบุรีนัดหมายผู้เข้ารับการฝึกอบรมลงพนที่แปลง
ื้
ี
ฝึกปฏิบัติการ “จิตอาสาพัฒนา เอามื้อสามัคค” จ านวน ๕ จุด/๕ กลุ่มสี
๓) เมื่อลงพนที่แปลงแล้ววิทยากรให้เข้าแถวตามกลุ่มสี และอธิบายเกริ่นน าถึงหลักกสิกรรม
ื้
ธรรมชาติ พร้อมมอบโจทย์ลงแปลงตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ ดังนี้
๓.๑ การจัดการกลุ่ม ส ารวจแบ่งหน้าที่ แบ่งคน ความสามัคค ี
๓.๒ การเตรียมดิน ขุดร่องน้ า+ฝาย
๓.๓ ปลูกป่า ๕ ระดับ
๓.๔ ปลูกแฝก อนุรักษ์ดินและน้ า
๓.๕ ปลูกดอกไม้เพื่อบริหารแมลง
๓.๖ . การห่มดิน ฟาง เศษใบไม้แห้ง
๓.๗ การเลี้ยงดิน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ (แห้งชาม น้ าชาม
๓.๘ การท่องคาถาเลี้ยงดิน ๕ ภาษา
๓.๙ ศิลปะ ความสวยงามเรียบร้อยของแมลง
๓.๑๐ การจัดเก็บอุปกรณ์ ล้างท าความสะอาดจัดวางให้เป็นระเบียบ
๔) เมื่อทุกกลุ่มสีด าเนินการตามโจทย์เสร็จเรียบร้อยแล้ว วิทยากรขอให้ทุกกลุ่มสีส่งผู้แทน ๑ คน
ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจแปลง (๕ คน/เจ้าหน้าที่ศูนย์อีก ๒ คน รวมเป็น ๗ คน)
๕) วิทยากรให้ทุกกลุ่มเตรียมพร้อมในการน าเสนอ จ านวน ๕ นาที โดยมีกติกา ดังนี้
๕.๑ แนะน าชื่อกลุ่มสี/ค าขวัญประจ ากลุ่มสี
๕.๒ ร้องเพลงคาถาเลี้ยงดิน
๕.๓ น าเสนอตามประเด็น ตรวจแปลง ๑๐ ขั้นตอน การตรวจแปลงตามหลักกสิกรรม
ธรรมชาติว่าได้ด าเนินการอย่างไรบ้างในแต่ละขั้นตอน
๖) คณะวิทยากรรวมคะแนน และประกาศผลคะแนนตามล าดับ