Page 58 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 58
๕๗
#รับชมคลิปวิดีโอเรื่อง ความหิว โรคร้ายแรงที่สุด (๑๖.๓๙ นาที)
สรุปการรับชมคลิปวิดีโอเรื่อง ความหิว โรคร้ายแรงที่สุด: เงินและก าไรสูงสุด ถูกท าให้
เชื่อว่าเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต ณ ปัจจุบันเป็นแบบนี้ ส าหรับหลักสูตรนี้เราจึงต้องพยายามมองกันว่าจะอยู่กัน
อย่างสมดุลอย่างไร เพราะเศรษฐกิจและจิตใจต้องแก้ไขไปพร้อมกัน ซึ่งเราทุกคนก็เห็นแล้วว่าพระองค์ท่านนั้น
ได้ทรงงานมาอย่างเหน็ดเหนื่อยและยาวนานมาก ดูได้จากคลิปวิดีโอนี้คือสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อ ๖๐ ปีที่แล้ว จะเห็นว่า
ั
บ้านเราเคยอุดมสมบูรณ์มากมาก่อน และพอเราพฒนาประเทศตามแบบฝรั่งท าให้ประเทศเราเสื่อมโทรมไปในเรื่อง
ื้
ของสิ่งแวดล้อม สังคม และอื่น ๆ ดังนั้น ในเมื่อเราเคยท าลายได้ เราก็ต้องฟนฟูขึ้นมาได้ โดยใช้ทฤษฎีใหม่ต่าง ๆ
ที่พระองค์เคยพระทานไว้ให้มากมาย
๓. กำรแปลงปรัชญำที่เป็นนำมธรรมสู่กำรปฏิบัติ “เป็นขั้นเป็นตอน”
ี
เศรษฐกิจพอเพยงนั้น เปรียบเสมือนร่มใหญ่ เป็นการเปลี่ยนแนวคิด/ ทัศนคติของตัวเราเองก่อน
การแปลงปรัชญามีอยู่ ๕ ด้าน คือ “มีไม่พอ ท าให้พอ มีเกินพอ รู้จักพอ แค่ค าว่าพอก็พอแล้ว” จากนั้นก็เรียนรู้
สิ่งที่พ่อหลวง ร.๙ คิด คือ ทฤษฎีใหม่ ๆ กว่า ๔๐ ทฤษฎี พอเรียนรู้ทฤษฎีเสร็จก็ลงมือปฏิบัติอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
้
ตามโครงการในพระราชด าริ ๔,๗๔๑ โครงการ รวม ๔๗,๐๐๐ เรื่อง ซึ่งพอเราน าไปประยุกต์ใช้แล้วก็จะคนพบว่า
ื้
มีเทคนิค/ นวัตกรรม เคล็ดวิชา เคล็ดลับ บทเรียน จ านวนมาก ที่เป็นของเราเอง ที่แก้ไขปัญหาในพนที่ของเราเอง
ผ่านการบริหารแบบคนจน
ความสัมพนธ์ของปรัชญาเศรษฐกิจ ๓ แบบ คือ “ทุนนิยม” มุ่งตลาดน า ปรับประสิทธิภาพ
ั
สร้างก าไรสูงสุด “สังคมนิยม” มุ่งเท่าเทียม ลดเหลื่อมล้ า การกระจายรายได้ ส่วน “พอเพียง” มุ่งสร้างให้พอ
ี
เน้นการให้และการแบ่งปัน เศรษฐกิจพอเพยงแข่งขันได้ร่ ารวยได้ มีจิตอาสา ท าบุญท าทาน ศาสตร์พระราชา
ท าให้พอ ดิน น้ า ป่า มีพอ เพราะคน ความยั่งยืน คือ การบ่มเพาะคนให้มีความรู้ (ศาสตร์พระราชา) และคุณธรรม
(จิตอาสา) ดังนั้น ความพอเพียงไม่ได้หมายความว่าต้องปฏิเสธทุนนิยมและสังคมนิยม แต่ให้ท าพนฐาน ที่เปรียบเหมือน
ื้
“เสาเข็ม” ให้มั่นคงเสียก่อน
องค์การ Concern Worldwide (Concern Worldwide, 2020) ได้วิเคราะห์สาเหตุส าคัญ
ของความยากจนในโลก สรุปสาระส าคัญคือ
๑) การขาดแคลนน้ าสะอาดและอาหาร
๒) การไม่มีงานท า หรือมีรายได้ไม่เพียงพอ
๓) ความขัดแย้งและสงคราม
๔) ความไม่เท่าเทียมกัน
๕) ขาดการศึกษา
๖) Climate Change
๗) การขาดโครงสร้างพื้นฐาน
๘) ความสามารถที่จ ากัดของรัฐบาล
๙) ขาดเงินทุนส ารอง