Page 62 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 62
๖๑
บทที่ ๙
พัฒนำ ๓ ขุมพลัง “พลังกำย พลังปัญญำ พลังใจ” กิจกรรมรับอรุณ
โดย ทีมวิทยำกร ศพช.สระบุรี
การพัฒนา ๓ ขุมพลัง เป็นส่วนหนึ่งของแนวทางการใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยงและเป็นวิถี
ี
ของชาวกสิกรรมธรรมชาติ การฝึกพัฒนา ๓ ขุมพลังเป็นกิจกรรมที่มักปฏิบัติร่วมกันในช่วงเช้าของการฝึกอบรม
เพื่อให้มีพลังกาย พลังใจ และพลังปัญญาครบพร้อมในการปฏิบัติภารกิจได้ตลอดทั้งวัน
ื
๑) พลังกำย เชื่อมโยงกับพลังธรรมชาติผ่านการกินพช และสัตว์เป็นอาหาร ซึ่งพชและสัตว์
ื
ได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์และเมื่อร่างกายมนุษย์เปลี่ยนพชและสัตว์ที่รับประทานเป็น น้ าตาล แป้ง แร่ธาตุ
ื
วิตามิน มนุษย์ก็ได้รับพลังงานท าให้ร่างกายแข็งแรง และนอกจากนี้ พลังกายยังได้มาจากการออกก าลังที่เหมาะสม
ร่างกายมนุษย์จึงมีความสมบูรณ์พร้อมท ากิจกรรม
๒) พลังใจ มนุษย์ต้องมีความรู้ มีจินตนาการ มีความฝัน ความมุ่งมั่น มีเป้าหมาย ซึ่งความฝัน
ั
จะเป็นจริงได้ก็นอกจากมีก าลังกายในการลงมือปฏิบัติแล้วก็ยังต้องมีพลังใจ ในการฝ่าฟนอปสรรค ความยากล าบาก
ุ
เพื่อให้พิชิตเป้าหมายได้ส าเร็จ
๓) พลังปัญญำ หากจะประสบความส าเร็จ มนุษย์จ าเป็นต้องหาความรู้อย่างจริงจังลึกซึ้งแล้ว
ลงมือท า ฝึกฝน ลองผิดลองถูก ขณะท าก็ศึกษาเรียนรู้และพฒนาไปด้วย จึงจะท าให้เกิดพลังปัญญาที่น าไปสู่
ั
ความส าเร็จได้
(สรุปข้อมูลจาก หนังสือ กสิกรรมธรรมชาติ)
การพัฒนา ๓ ขุมพลัง “พลังกาย พลังปัญญา พลังใจ” ประกอบด้วย ๔ กิจกรรม ดังต่อไปนี้
๑. กิจกรรมสุขภำพดีวถีไทย ผู้เข้าฝึกอบรมออกก าลังกายด้วยท่าบริหาร ๑๒ ท่า (ซึ่งเป็นท่า
ิ
ั
บริหารกายที่ร่วมกันออกแบบพฒนา โดยกรมอนามัย และ สสส. ตามนโยบายของกระทรวงแรงงาน
และกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นท่าประกอบการบริหารร่างกายสไตล์ไทย ๆ เพอส่งเสริมให้วัยท างานได้มีการบริหาร
ื่
ื่
ร่างกายก่อนเริ่มปฏิบัติงาน หรือช่วงเวลาระหว่างปฏิบัติงาน เพอสร้างความพร้อมและความแข็งแรงให้กับร่างกาย
เหมาะส าหรับทุกเพศทุกวัย โดยผู้ออกแบบท่าและโปรแกรมการบริหารร่างกาย คือ นายชัยรัชต์ จันทร์ตรี
ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาและออกก าลังกาย กองกิจกรรมทางกายเพอสุขภาพ กรมอนามัย
ื่
โดยท่าออกก าลังกายทั้งหมด ๑๒ ท่า ประกอบด้วย
๑) ท่าสวัสดี
- กางแขนทั้ง ๒ ข้าง หมุนไหล่ขึ้น - หมุนแขนลง ในท่าพนมมือ
๒) ท่ายักไหล่
- ยืนกางแขน ออกจากล าตัวเล็กน้อย ก ามือ หลวม ๆ
- ยักไหล่ ซ้าย ขึ้นแล้วลง (๑)
- ยักไหล่ ขวา ขึ้นแล้วลง (๒)
- ยักไหล่ ทั้ง ๒ ข้างขึ้นพร้อมกัน แล้วลง (๓)