Page 60 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 60

๕๙

                                                                                                          ื้
                                ปี ๒๕๖๔ โครงการที่ ๔ (งบเหลือจ่าย) ๑) การสนับสนุนครัวเรือนต้นแบบผ่านการออกแบบพนที่
                  จ านวน ๓๐๐ แปลง ที่ได้อบรม ๒) การจัดท าหนังสือ คู่มือการด าเนินงาน สื่อการสอนสารสนเทศ และ ๓) การจัดท า

                  ระบบสารสนเทศเพื่อการส ารวจ รวบรวม และจัดท าข้อมูล ด าเนินงานโดยภาคีเครือข่ายภายใต้ MOU

                           ๕. กำรขยำยผลสู่เขตพัฒนำเศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชน/ ต ำบล

                                ตัวอย่าง ๑๐ ยุทธวิธีการพัฒนาพื้นที่ เพื่อบริหารจัดการน้ าระดับชุมขน
                                      ๑) ขุดลอกหนองเดิม

                                      ๒) ขุดหนองใหม่

                                      ๓) ขุดหลุมในคลอง
                                      ๔) เชื่อมหนองน้ า

                                      ๕) แหล่งน้ าครัวเรือน (โคก หนอง นา)

                                      ๖) สร้างแท็งค์น้ ายักษ์กักเก็บน้ า (ท าด้วยปูนและไม้ไผ่)
                                      ๗) ขุดเจาะน้ าบาดาล

                                      ๘) พื้นที่แจกน้ า

                                      ๙) การเก็บน้ าบนหัวคันนาทองค า
                                      ๑๐) การเก็บน้ าในรูปแบบเกษตร ๒ ขา


                                #รับชมคลิปวิดีโอเรื่อง โคก หนอง นา วัดป่าศรีแสงธรรม (๒.๕๙ นาที)
                                      สรุปการรับชมคลิปวิดีโอเรื่อง โคก หนอง นา วัดป่าศรีแสงธรรม: คลิปวิดีโอที่ทุกท่าน

                  รับชมจบไป เป็นผลงานการออกแบบของพระอาจารย์ที่ช่วยออกแบบร่วมกับรศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ และ
                       ิ
                                                           ั
                  ผศ.พเชฐ โสวิทยสกุล คือแบบ CLM ที่กรมการพฒนาชุมชนได้ออกแบบไว้ให้ว่ามีจ ากัด จริง ๆ แล้วคือไม่ใช่
                  เพราะเรามีแบบมาตรฐานรูปแบบ/ รูปทรงต่าง ๆ มากมาย เพยงแต่ว่าเราขาดช่างท้องถิ่น หรือเราขาดทีมผู้ออกแบบ
                                                                  ี
                  ไปช่วยวางแบบตอนที่จะประมูล แต่ถ้าทุกคนสามารถเข้าใจหลักการและช่วยกันออกแบบโดยใช้แบบมาตรฐาน
                  เพราะแบบมาตรฐานก็ถูกเซ็นรับรองโดยวิศวกร ค านวณตามประเภทดินโดยเซ็นรับรองจากทีมวิศวะ

                  มหาวิทยาลัยขอนแก่นอยู่แล้ว
                                      สิ่งที่พระอาจารย์ท่านใช้ค าว่าแปลงพระราชทานโคก หนอง นา แห่งน้ าใจและความหวัง

                  เพราะระหว่างที่ท่านท ามาเรื่อย ๆ และในหลวงท่านก็พระราชทานทุนทรัพย์ช่วย อย่างศาลาสีฟาสีแดงที่เป็น
                                                                                                  ้
                  แนวท้องถิ่นที่ทุกท่านเห็นนั้น พระอาจารย์ท่านก็ปรับให้มันเข้ากับความเป็นโคก หนอง นา หรือบริบทพนที่
                                                                                                          ื้
                  ซึ่งเป็นวิธีคิดของท่านที่เน้นการตอบโจทย์ความต้องการของคนในพื้นที่อย่างแท้จริง ซึ่งท่านก็ได้ให้แง่คิดกับทีมอาจารย์

                  เพราะพระอาจารย์เล่าว่าท่านเคยผ่านความล าบากยากจนมาก่อนและพฒนาตนเองมาเป็นพระนักคิด จึงมีจุดเด่น
                                                                           ั
                                                                  ื้
                  คือการคิดค้นการน าโซลาร์เซลล์มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาพนที่โคก หนอง นา ทั้งระบบ ซึ่งที่ผ่านมาท่านก็ต้องใช้
                  ความพยามสูงมากที่จะค่อย ๆ ปรับแนวคิดชาวบ้านที่ส่วนใหญ่มีฐานะยากจนให้ค่อย ๆ ปรับแนวคิดและปรับ

                  การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งปัจจุบันมีทั้งภาครัฐและหน่วยงานต่าง ๆ เข้าไปช่วยเหลือ

                  สนับสนุนการด าเนินงานของท่านมากขึ้น เพราะท่านมีองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีใหม่มากมายที่น ามาปรับใช้
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65