Page 57 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 57

๕๖

                                                            บทที่ ๘
                                ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่เขตพัฒนำเศรษฐกิจพอเพียงด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม  ่

                          โดย รองศำสตรำจำรย์วรวรรณ โรจนไพบูลย์ และ ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์พิเชฐ โสวิทยสกุล
                                                 ที่ปรึกษำปลัดกระทรวงมหำดไทย



                           ๑. ทฤษฎีใหม่คืออะไร และ SEDZ คืออะไร
                                ทฤษฎีใหม่ คือ ทฤษฎีที่องค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดชมหิตลาธิเบศรรามาธิบดี

                  จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระราชทานไว้ให้ปวงชนชาวไทย เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาคน/
                                                                               ั
                               ั
                                                                                                 ั
                  มนุษย์ ที่เน้นพฒนาตนเองก่อน เพราะพระองค์ท่านย้ าอยู่เสมอว่าจะพฒนาอะไรต้องเริ่มที่พฒนาคนก่อน
                                                            ู
                                                         ื้
                                                                                                        ั
                    ื่
                                 ู
                              ื้
                                                                 ื้
                                                                        ื้
                                                                           ู
                                                                    ู
                  เพอให้คนไปฟนฟวิถีวัฒนธรรมแห่งการให้ ฟนฟดิน ฟนฟน้ า ฟนฟป่า ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก พฒนา
                  ความเข้มแข็งราษฎร พัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาประเทศ
                                ทฤษฎีใหม่ แบ่งเป็น ๓ ขั้น
                                      ๑) ขั้นพื้นฐาน คือ พอมี พอกิน ให้ราษฎร (โคก หนอง นา โมเดล)
                                      ๒) ขั้นกลาง คือ รวมกลุ่มวิสาหกิจ เพื่อสังคมของชุมชน
                                      ๓) ขั้นก้าวหน้า คือ รัฐหนุน ชุมชนท า เอกชนเสริม
                                                                                     ี
                                                                    ั
                                นี่จึงเป็นที่มาของทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่เขตพฒนาเศรษฐกิจพอเพยง Sufficiency  Economy
                  Development Zones for Sustainable Development Goals (SEDZ for SDGs) และเมื่อย้อนไปเมื่อ
                                                                                      ื
                  เดือนธันวาคมปี ๒๕๒๕ ที่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระราชทานให้สัมภาษณ์กับหนังสอ National Geographic
                  (หนังสือสารคดีระดับโลก) “Thailand’s working royalty” โดยบทท้ายท่านได้กล่าวไว้ว่า “ประเทศของเรา
                  มั่งคั่งอุดมสมบูรณ์และอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ หากมีการต่อสู้ใด ๆ ในโลก ผู้คนก็อยากได้ประเทศนี้ และการต่อสู้
                  ก็ยังมีในโลกนี้อยู่เสมอ (ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม) เรายังยืนหยัดอยู่ตรงนี้ เรายืนยัดอยู่ที่นี่เพอประโยชน์สุขของโลกทั้งใบ”
                                                                                     ื่
                           ๒. กำรพัฒนำกับกำรเปลี่ยนแปลง

                                แผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ ระหว่างระยะเวลา พ.ศ. ๒๕๐๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๐๖ และถึง พ.ศ. ๒๕๐๙
                  โดยประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้เขียนแล้วให้ประเทศไทยน ามาใช้พฒนาประเทศ (ฝรั่งคิด ไทยท า) นับแต่นั้นมา
                                                                        ั
                                                               ื้
                  ระยะเวลาประมาณ ๕๐ ปี ส่งผลให้ประเทศไทยมีพนที่ป่าไม้ลดลง หรือหายไปกว่า ๗๐% แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น
                       ั
                                                                                                         ั
                  การพฒนาไม่ใช่สิ่งที่ผิด เพราะเมื่อเวลาผ่านไปทั่วโลกก็ล้วนแล้วแต่มีการเปลี่ยนแปลงและพฒนา แต่เมื่อการพฒนา
                                                                                          ั
                  ท าให้เกิดการสูญเสียและประเทศไทยมีบทเรียนแล้ว ก็ต้องย้อนกลับหลังไปดูว่าบรรพบุรุษของเราท าอะไรไว้บ้าง
                  และท าอย่างไรถึงท าให้ประเทศไทยของเรายังอดมสมบูรณ์ ดังนั้น “เศรษฐกิจและจิตใจต้องแก้ไขไปพร้อมกัน”
                                                         ุ
                  เราเคยท าลายได้ เราก็ต้องฟื้นมันขึ้นมาได้
                                คลื่นลูกที่ ๑ “คลื่นโรคระบาดโควิด-19” เข้ามาในประเทศไทยเมื่อปี ๒๕๖๓
                                คลื่นลูกที่ ๒ “คลื่นแห่งความเสื่อมถอย และรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ” เข้ามาในประเทศไทยเมื่อปี ๒๕๖๔

                                คลื่นลูกที่ ๓ “คลื่นแห่งการเปลี่ยนแปลงทางด้านสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง Climate Change”
                  ซึ่งจะเข้ามาในประเทศไทยในปี ๒๕๗๓ (ข้อมูลจากกรีนพีซ)

                                คลื่นลูกที่ ๔ “คลื่นแห่งการสูญพันธุ์” ซึ่งจะเข้ามาในประเทศไทยในปี ๒๕๙๕ (ข้อมูลจากกรีนพีซ)
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62