Page 11 - Education 4.0 : ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
P. 11
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ 3
กับแนวคิดและการขับเคลื่อนการศึกษา 4.0
สามารถสรางผลงานที่เปนผลผลิต (Product) ออกมาใหได และเปนผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ
ดวยพรอมกัน โดยผูเขียนเรียกการศึกษาในแนวนี้วา การศึกษาเชิงสรางสรรคและผลิตภาพ
(Creative and Production Education) และไดใชเปนแนวคิดในการเสนอแนวทาง
การพัฒนาการศึกษาสําหรับการ ปฐมนิเทศนิสิต ตั้งแตผูเขียนเปนคณบดีคณะครุศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป 2546 มาแลว และไดปรับปรุงเปนปรัชญาการศึกษาของไทย
กลุมหนึ่ง เพราะผูเขียนเชื่อวา ถาผูเรียนของเราทุกคนมีความสามารถในการผลิตหรือสราง
สิ่งของขึ้นมาสักอยางหนึ่ง เราจะไดผลผลิตเปน 1,000,000 ชิ้น จากนักเรียนลานคน
เพียงแค 10 ชิ้น หรือ 100 ชิ้น ที่เปนนวัตกรรมไดจริงๆ ความเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้น
ในสังคมไทยไดอยางมหาศาล
ตอมาในภายหลังจึงไดรูวา ไดมีการจัดแบงการศึกษาออกเปนการศึกษา 1.0, 2.0,
3.0 และ 4.0 โดยเฉพาะการศึกษา 4.0 ในแนวที่คิดกันใหมนี้เปนการศึกษาที่มุงเนน
ใหผูเรียนสามารถพัฒนา สราง หรือ จัดทําสิ่งของ ซึ่งอาจจะเปนแนวคิดหรือนวัตกรรมตางๆ
ก็ได ซึ่งจุดหมายของการศึกษา 4.0 ก็มาตรงกับแนวคิดของผูเขียนที่กลาวมาแลว”
หลักการของการศึกษา 4.0
ตามความเห็นของอาจารยไพฑูรย สินลารัตน ทานเห็นวา ปจจุบันการศึกษาไทย
เขาสูยุค 4.0 แลว โดยเริ่มจากการการศึกษา 1.0 ในยุคเกษตรกรรม ที่เนนทักษะเพื่อยังชีพ
สวนการศึกษาไทย 2.0 คือการศึกษาที่อยูบนพื้นฐานของอุตสาหกรรมเริ่มในสมัยรัชกาล
ที่ 5 และตอมาเขาสูยุคการศึกษา 3.0 คือการศึกษาไทยยุคเทคโนโลยี ยุคโลกาภิวัฒน แตยุค
โลกาภิวัฒนในขณะนี้เปน Port globalization ที่คอยๆ เปลี่ยนไปเปนการศึกษา
เพื่อชุมชนนานาชาติ เนนติดตอสื่อสารทางเทคโนโลยีเปนหลัก และคนจะเปลี่ยนไป
ในลักษณะชวยตัวเองมากขึ้น แต การศึกษาไทย 4.0 คือ การศึกษายุคผลิตภาพ
เปนยุคที่ตองการผลผลิต หรือ Products ใหไดมากที่สุดเพื่อประโยชนของชุมชน
ตนเองและชุมชนอื่นๆ ดวยทักษะการ ศึกษาที่เนนการทําได และลงมือทํา
แลวออกมาเปนผลผลิต นอกจากนี้การศึกษาไทย 4.0 ยังถือวาเปนยุคที่เขาสู
ศตวรรษที่ 21 ที่ประเทศไทยตองมองผลิตภาพในลักษณะที่ตามใหทัน และกาวไปขางหนา
สามารถแสดงเปนแผนภาพ ดังนี้