Page 15 - Education 4.0 : ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
P. 15

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์  7
                                                           กับแนวคิดและการขับเคลื่อนการศึกษา 4.0


                       จากประกาศของผูนําประเทศไทยเพื่อนําพาประเทศสู Thailand 4.0 รัฐมนตรีวา
                การกระทรวงพาณิชย ดร.สุวิทย เมษินทรีย (ในขณะนั้น) ไดใหรายละเอียดของประเทศไทย
                4.0 อยางเปนรูปธรรมโดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็นที่เนนยํ้า คือคําวา“มหาวิทยาลัย :
                ดานหนาของการเปลี่ยนผานสูประเทศไทย 4.0”



                       รัฐมนตรีวาการกระทรวง
                พาณิชย ไดกลาววา ไดมีโอกาส
                รวมประชุมกับคณาจารยจาก
                มหาวิทยาลัยตาง ๆ เมื่อวันที่ 4
                เมษายน 2559 ในที่ประชุมไดรวมกัน
                หารือวา “เราจะชวยกันปรับเปลี่ยน
                ประเทศไทย ไปสู Thailand 4.0 ได
                อยางไร ซึ่งหลายประเทศกําลังคนหา
                และพัฒนา New Economic Model เพื่อสรางความมั่งคั่งในศตวรรษที่ 21 อาทิ สหรัฐ
                อเมริกา : A Nation of Makers  สหราชอาณาจักร : Design of Innovation จีน : Made
                in China 2025  อินเดีย : Make in India  และเกาหลีใต : Creative Economy เปนตน


                       นอกจากนี้ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ยังกลาวอีกวาประเทศไทยไดเปลี่ยน
                ผานจาก "Thailand 1.0" ที่เนนภาคเกษตร ไปสู "Thailand 2.0" ที่เนนอุตสาหกรรมเบา

                และกาวสู "Thailand 3.0" ที่เนนอุตสาหกรรมหนัก ในปจจุบันใน Thailand 3.0
                เราตองเผชิญกับ1) กับดักประเทศรายไดปานกลาง 2) กับดักความเหลื่อมลํ้า และ3)
                กับดักความไมสมดุลของการพัฒนา ดังนั้น "Thailand 4.0" จึงเปนการคนหา New Engines
                of Growth ชุดใหม ที่จะสรางความมั่งคั่งอยางยั่งยืนใหกับประเทศไทยในศตวรรษที่
                21 โดยการแปลง "ความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ" (Comparative Advantage)
                ของประเทศไทยที่มีอยู 2 ดาน คือ "ความหลากหลายเชิงชีวภาพ" (Bio-Diversity) และ
                "ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม" (Cultural Diversity) เปน "ความไดเปรียบในเชิงแขงขัน"
                (Competitive Advantage) ใน 5 กลุมอุตสาหกรรม/เทคโนโลยีใหม (New Industries/Core
                Technologies) อันประกอบดวย

                       กลุมที่ 1: Food, Agricultural Products & Bio-Tech
                       กลุมที่ 2: Health, Wellness & Bio-Med
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20