Page 18 - Education 4.0 : ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
P. 18

10   ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
          กับแนวคิดและการขับเคลื่อนการศึกษา 4.0




          แนวทางการจัดการศึกษา
                                                    4.0”
                    ในยุค “ประเทศไทย






                 จากแนวค
                 จากแนวคิด ขอเสนอ และแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อใหไปสูการศึกษาไทย ิด ขอเสนอ และแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อใหไปสูการศึกษาไทย
          4.0  มีคําถามที่วงการศึกษาไทยควรชวยกันหาคําตอบและรวมมือกันขับเคลื่อนตอไป คือ
          ผลิตภัณฑ (Product) ทางการศึกษา 4.0 ควรมีลักษณะอยางไร?  มีความเหมือนและแตกตาง
          จากผลงานเชิงนวัตกรรมอยางไรบาง?





















                 กอนอื่น ควรพิจารณาในมิติของผลิตภัณฑ (Product) ทางการศึกษา 4.0
          วาควรมีมิติอยางไรบาง? ซึ่งหากคํานึงถึงพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา นอกจากมิติ
          ดานการสอนหรือการผลิตบัณฑิตแลว ยังมีมิติอื่นๆ ที่สําคัญ ไดแก  การบุกเบิกแสวงหา
          ความรู หรือ การวิจัย และการบริการทางวิชาการแกสังคม ที่สถาบันอุดมศึกษาควรมี
          สวนรวมรับผิดชอบตอสังคมและชี้นําสังคมจากองคความรูใหมที่คนพบและอื่นๆ
          ที่เกี่ยวของอยางไร?

                 ประเด็นสําคัญ คือ สถาบันอุดมศึกษาจะขับเคลื่อนพันธกิจดังกลาวอยางไร?
          เพื่อใหสามารถดําเนินการไปพรอมๆกับการผลิตบัณฑิตอยางบูรณาการ ในการศึกษาไทย
          4.0 ซึ่งจากการสังเคราะหแนวคิดตางๆ ตั้งแตการประกาศทิศทางประเทศไทย 4.0
          ของรัฐบาล โดยเฉพาะแนวคิดของรัฐมนตรีวาการการะทรวงพาณิชย ที่คาดหวังวา
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23