Page 23 - Education 4.0 : ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
P. 23

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์  15
                                                           กับแนวคิดและการขับเคลื่อนการศึกษา 4.0


                       สวนองคประกอบของบัณฑิตวิศวกรที่จะไดรับบมเพาะจาก Chula Engineering
                Education 4.0 ไดแก
                      1) ความรูทางวิศวกรรม : ลึกซึ้งในศาสตรเฉพาะ รูรอบในศาสตรที่เกี่ยวของ
                      2) ทักษะการคิด : คิดเปนระบบ คิดวิเคราะห คิดสรางสรรค
                      3) ทักษะบุคคล : ทํางานเปนทีม สื่อสารไดผานงานเขียน/การนําเสนอ พหุภาษา
                    4) แนวคิดการแกปญหาแบบวิศวกร : รูบริบททางสังคมและธุรกิจ มีคนเปนตัวตั้ง

                ในการแกปญหา  แกปญหาอยางเปนระบบ
                       กลาวไดวา Chula Engineering Education 4.0 เปนตัวอยางหนึ่งที่สถาบัน
                อุดมศึกษาไทย  สามารถใชเปนแนวทางในการกําหนดทิศทางการจัดการเรียนรู
                ใหแกผูเรียนเพื่อใหกาวทันการศึกษาไทย 4.0 และควรพิจารณาถึงความแตกตาง
                ของศาสตรสาขาเปนสําคัญเพื่อใหการจัดการเรียนรูมีความหลากหลายและสามารถ
                บรรลุเปาหมายของตนได


                กรณีศึกษา “วไลยอลงกรณ์ โมเดล”


                       เมื่อป 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัด
                ปทุมธานี โดยผูบริหารและคณาจารยทุกคนของสถาบันไดทบทวนบทบาทของตนเอง
                เพื่อเปนผูนําในการขับเคลื่อนการศึกษา 4.0 โดยจัดใหมีการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง

                “การจัดการเรียนรู Education 4.0 : วไลยอลงกรณ โมเดล” เมื่อวันที่ 2 มิถุนายนและวันที่
                1 กรกฎาคม 2559 ณ หองประชุมราชนครินทร ชั้น 5 อาคาร 100 ป สมเด็จพระศรีนครินทร
                       การประชุมครั้งนี้อาจกลาวไดวามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณใน
                พระบรมราชูปถัมภ เปนสถาบันอุดมศึกษากลุมแรกของประเทศที่มีการขับเคลื่อน
                หลังจากที่รัฐบาลประกาศ “ประเทศไทย 4.0” และสาระสําคัญของการประชุม
                คือ  การประกาศเจตนารมณของนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ
                รองศาสตราจารยจรูญ  ถาวรจักร ภายใตหัวขอ “เสนทาง นโยบายการจัดการศึกษา
                Education  4.0  มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ  ในพระบรมราชูปถัมภ”

                ตามดวยการบรรยาย เรื่อง Education 4.0 เปนมากกวาการศึกษา : กระบวนการ
                สรางคนรุนใหม สําหรับโลกยุคใหมโดย ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.ไพฑูรย สินลารัตน
                คณบดีวิทยาลัยครุศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ในขณะนั้น ที่จุดประกาย ใหทุกคนเห็น
                ความสําคัญของการศึกษา 4.0 นอกจากนี้ยังมีผูรวมรายการที่มากดวยประสบการณ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28