Page 74 - Keattichai
P. 74
48
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัส 3105-2001 ชื่อวิชา พัลส์เทคนิค สัปดาห์ที่ 16
ชื่อหน่วย : วงจรแปลงรูปสัญญาณ จ านวน 3 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง : วงจรแปลงรูปสัญญาณ ชม.สอน 3 ชั่วโมง
1. หัวข้อเรื่อง
วงจรจุดชนวนของชมิตต์
2. สาระส าคัญ
วงจรจุดชนวนของชมิตต์ ถูกออกแบบมาเพื่อตรวจสอบระดับแรงดัน 2 ระดับที่จะท าให้เอาต์พุต
เปลี่ยนสภาวะจากระดับปกติไประดับ V และเปลี่ยนจากสภาวะ V มาสู่ระดับปกติ ระดับแรกเรียกว่า
CC
CC
ศักย์จุดชนวนบน (Upper trigger point : UTP) ระดับที่ 2 เรียกว่า ศักย์จุดชนวนล่าง (Lower trigger point :
LTP) การเปลี่ยนแปลงอินพุตทั้งสองสถานะจึงจะท าให้เอาต์พุตเปลี่ยนระดับ คือเกิดพัลส์ตามเวลาที่ค่า
อินพุตจุดชนวนค่าบน ไปหาค่าล่างตามที่ออกแบบได้ หมายถึงวงจรท างานตามระดับที่ถูกจุดชนวน โดย
ไม่สนใจความถี่ของสัญญาณอินพุต เงื่อนไขการป้ อนอินพุตที่ส าคัญ คือ ต้องมีแรงดันค่ายอดสูงกว่าค่า
จุดชนวนบนและจุดชนวนล่าง วงจรจึงจะสามารถท างานได้ตามเงื่อนไข
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวงจรแปลงรูปสัญญาณ มีความสามารถคิดวิเคราะห์และ
ออกแบบวงจรจุดชนวนของชมิตต์ มีกิจนิสัยในการท างานรอบคอบและท างานอย่างเป็นระบบ
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อให้สามารถอธิบายการท างานของวงจรจุดชนวนของชมิตต์ได้ถูกต้อง
2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และออกแบบวงจรจุดชนวนของชมิตต์ได้ถูกต้อง
3. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้งานวงจรจุดชนวนของชมิตต์ได้ถูกต้อง
4. สาระการเรียนรู้
6.1 วงจรจุดชนวนของชมิตต์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์
6.2 การออกแบบวงจรเมื่อก าหนดค่า UTP และ LTP
6.3 การประยุกต์ใช้งานวงจรจุดชนวนของชมิตต์