Page 340 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 340

คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง   ๓๑๒


                  ๒. บุคคลภายนอกที่ได้รับหมายยึด  อายัด  หรือค าสั่งห้ามตามมาตรา ๒๕๔  มีสิทธิขอ


                  เพิกถอนค าสั่งนั้นได้เช่นเดียวกับจ าเลย แต่ถ้าบุคคลภายนอกขอให้ปล่อยทรัพย์

                  ที่ยึด หรือคัดค้านค าสั่งอายัดให้น ามาตรา ๒๘๘ หรือ ๓๑๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

                             “พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า จ าเลยโอนสิทธิเรียกร้องของจ าเลยที่มีต่อองค์การบริหาร

                  ส่วนท้องถิ่นให้แก่ธนาคารทหารไทย จ ากัด (มหาชน) ก่อนโจทก์ฟ้องคดี โดยไม่ปรากฏว่า

                  จ าเลยกระท าการโอนโดยฉ้อฉล


                                 จึงให้ถอนหมายอายัดเงินชั่วคราวก่อนค าพิพากษาต่อองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
                  ให้โจทก์เสียค่าธรรมเนียมถอนอายัดร้อยละ ๑”



                  ๓.  จ าเลยหรือบุคคลภายนอกตามมาตรา ๒๖๑ ยื่นค าร้องขอให้ศาลสั่งแก้ไขหรือยกเลิก


                  เพราะข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไปตามมาตรา ๒๖๒

                            สั่งว่า  “รับค าร้อง ส าเนาให้โจทก์ นัดไต่สวน”

                            ไต่สวนแล้ว  สั่งว่า

                            ตัวอย่าง “พิเคราะห์แล้ว  เห็นว่า สิทธิเรียกร้องของจ าเลยและลูกหนี้ของจ าเลยได้หักกลบ

                  ลบหนี้กับจ าเลยหมดแล้ว  จึงให้ถอนหมายอายัดเสีย”

                            อนึ่ง  ถ้าศาลเห็นว่าพฤติการณ์เปลี่ยนไป ศาลก็สั่งตามมาตรา ๒๖๒  ได้เองเช่นเดียวกัน

                  โดยจ าเลยไม่ต้องขอ



                  ๔.  จ าเลยยื่นค าขอให้ยกเลิกค าสั่งในเหตุฉุกเฉินตามมาตรา ๒๖๗  วรรคสอง

                            ค าขอตามมาตรานี้เป็นค าขอฝ่ายเดียว ไม่ต้องส่งส าเนาให้อีกฝ่าย  ให้ไต่สวนเป็นการด่วน

                  เมื่อไต่สวนเสร็จแล้ว มีค าสั่ง

                            ตัวอย่าง “ตามค าร้องของจ าเลยและพยานที่จ าเลยน าสืบมา  ปรากฏว่าโจทก์มีทางออก

                  ทางด้านหลังโรงเรียนซึ่งเป็นถนนสาธารณะรถยนต์เข้าออกได้

                            จึงมีค าสั่งให้ยกเลิกค าสั่งห้ามจ าเลยกั้นรั้ว (รื้อรั้ว) เสีย”


                                      ข้อสังเกต

                                   ๑. ค าสั่งตามมาตรา ๒๖๗ วรรคแรก  ที่ศาลสั่งยกค าขอของโจทก์ถึงที่สุด

                  จะอุทธรณ์ฎีกาไม่ได้ (ฎีกาที่ ๔๐๗/๒๕๑๙, ๒๗๒๘/๒๕๒๖)

                                   ๒.  ค าสั่งตามมาตรา ๒๖๗ วรรคสอง  ซึ่งสั่งอนุญาตตามค าขอจ าเลย คือยกเลิก

                  ค าสั่งที่อนุญาตตามค าขอโจทก์ในมาตรา ๒๖๗ วรรคแรก นั้นถึงที่สุด (ฎีกาที่ ๔๐๗/๒๕๑๙)
   335   336   337   338   339   340   341   342   343   344   345