Page 37 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 37

คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง   ๙


                  ของโจทก์ถึง ๑ วัน ดังนี้ จะถือว่าโจทก์มิได้น าส่งส าเนาอุทธรณ์ให้แก่จ าเลยทั้งสามตามค าสั่ง

                  ศาลชั้นต้นเป็นการเพิกเฉยไม่ด าเนินคดีภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นก าหนด  อันจะถือว่าโจทก์

                  ทิ้งอุทธรณ์หาได้ไม่ (ฎีกาที่ ๙๕๓๘/๒๕๓๙)

                             ๒. กรณีที่ถือว่าศาลไม่ได้ก าหนดให้โจทก์น าส่ง  เช่น  การที่ศาลชั้นต้นมีค าสั่งตาม

                  ค าแถลงของผู้ร้องว่า ส่งให้โจทก์ใหม่  หากไม่มีผู้รับโดยชอบให้ปิดหมายได้นั้น  จะถือว่าศาลชั้นต้น

                  ก าหนดให้ผู้ร้องน าส่งส าเนาอุทธรณ์ด้วยหาได้ไม่   กรณีเช่นนี้เพียงแต่ผู้ร้องน าเงินค่าธรรมเนียม

                  ในการส่งไปช าระแก่เจ้าหน้าที่ก็ถือว่าผู้ร้องได้น าส่งส าเนาอุทธรณ์แล้ว  กรณีไม่อาจถือได้ว่าผู้ร้อง

                  ทิ้งอุทธรณ์ (ฎีกาที่ ๕๔๕๖/๒๕๓๙)


                        ๒.๒ สั่งไม่รับค าฟ้องหรือคืนค าฟ้อง  เช่น กรณีดังต่อไปนี้

                             ๒.๒.๑  กรณีค าฟ้องมีข้อบกพร่อง ให้ระบุข้อบกพร่องและสั่งว่า  “. . .ให้คืน

                  โจทก์ไปท ามาใหม่ให้ถูกต้องหรือให้แก้ไขเพิ่มเติมหรือให้ปฏิบัติให้บริบูรณ์ ภายใน. . .วัน”

                  ถ้าไม่ปฏิบัติตามให้มีค าสั่งว่า  “ไม่รับค าฟ้อง  คืนค่าขึ้นศาลทั้งหมด”

                                      กรณีสั่งคืนให้โจทก์ไปท ามาใหม่  โจทก์จะรับค าฟ้องไปไม่ได้  ต้องท าค าฟ้อง

                  ยื่นเข้ามาใหม่ ถ้าสั่งให้แก้ไขเพิ่มเติมโจทก์จะต้องยื่นเป็นค าร้องขอแก้ไขค าฟ้อง

                             ๒.๒.๒  กรณีมีข้อหาหลายข้อไม่เกี่ยวข้องกัน  สั่งว่า “ข้อหามิได้เกี่ยวข้องกัน ให้รับ

                  ค าฟ้องเฉพาะข้อ. . . . .ส่วนข้อหาอื่นให้โจทก์แยกฟ้องเป็นคดีใหม่”  (กรณีไม่รับทุกข้อหาดูฎีกาที่

                  ๗๓๙/๒๕๐๓)

                             ๒.๒.๓  กรณีฟ้องผิดศาลและศาลตรวจพบก่อน ให้ระบุเหตุผลและสั่งว่า  “. . .คดีจึง


                  ไม่อยู่ในเขตอ านาจของศาลนี้  ไม่รับค าฟ้อง  (หรือคืนค าฟ้องไปเพื่อยื่นต่อศาลที่มีเขตอ านาจ)
                  คืนค่าขึ้นศาลทั้งหมด”  (แม้ศาลจะสั่งไม่รับหรือคืนค าฟ้อง  โจทก์ก็จะรับค าฟ้องคืนไปไม่ได้)


                             ๒.๒.๔  กรณีฟ้องผิดศาลและศาลตรวจพบภายหลังมีค าสั่งรับฟ้องไว้แล้ว ควรสั่ง
                  ดังนี้


                                      “พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า. . .คดีจึงมิได้อยู่ในเขตอ านาจศาลนี้  อาศัยอ านาจ

                  ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ จึงมีค าสั่งให้เพิกถอนค าสั่งรับฟ้อง  และมีค าสั่งใหม่เป็นไม่รับค าฟ้อง

                  คืนค่าขึ้นศาลทั้งหมดให้แก่โจทก์   ให้จ าหน่ายคดีจากสารบบความ  แจ้งให้คู่ความทราบ”  (ฎีกาที่

                  ๑๑๔/๒๕๒๑, ๑๘๔๗/๒๕๒๗
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42