Page 398 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 398
คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๐
๒๒. โจทก์มีสิทธิที่จะท าสัญญาประนีประนอมยอมความกับจ าเลยบางคนก็ได้
แต่จ าเลยอื่น ๆ หลุดพ้นความรับผิดเท่ากับจ านวนเงินที่จ าเลยนั้นท ายอมเท่านั้น (ฎีกาที่ ๘๙๗/
๒๕๒๕)
ข้อสังเกต
กรณีโจทก์ฟ้องจ าเลยหลายคนซึ่งมูลความแห่งคดีเป็นการช าระหนี้ที่มิอาจ
แบ่งแยกได้ แต่โจทก์ท าสัญญาประนีประนอมยอมความกับจ าเลยได้เพียงบางคน ซึ่งอาจส่งผล
ท าให้จ าเลยคนอื่น ๆ หลุดพ้นความรับผิด ไม่ว่าจะเข้าเกณฑ์เป็นลูกหนี้ร่วมตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๙๒
หรือมาตรา ๒๙๓ ก็ดีหรือเป็นผู้ค ้าประกันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๑ หรือมาตรา ๗๐๐ ก็ดี
หรือจ านองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๔๔ ก็ดี กรณีต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนกลายเป็นอุปสรรคส าคัญ
แห่งการที่ธนาคารหรือสถาบันการเงินที่เป็นโจทก์จะตกลงยินยอมในการปรับโครงสร้างหนี้
ให้แก่จ าเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ชั้นต้นและอาจส่งผลท าให้การตกลงประนีประนอมยอมความและ
การพิพากษาตามยอมตามมาตรา ๑๓๘ เกิดขึ้นไม่ได้ เพื่อแก้ไขปัญหาเช่นว่านี้ มีแนวทาง
แก้ไขปัญหาอยู่ ๒ แนวทาง คือ
(๑) ศาลอาจบันทึกเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความไว้ และจดรายงาน
กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับความตกลงของคู่ความที่ตกลงประนีประนอมยอมความกันได้ไว้
เป็นหลักฐานแต่จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณาด้วยว่า เป็นกรณีที่มูลความแห่งคดีนั้นเป็นการ
ช าระหนี้ซึ่งแบ่งแยกกันมิได้ จึงให้รอการพิพากษาตามยอมไว้ก่อน เมื่อศาลด าเนินการพิจารณา
ส าหรับจ าเลยที่ไม่อาจยอมความได้เสร็จสิ้นแล้ว จะได้มีค าพิพากษาตามยอมและคดีเรื่องนี้
ไปตามรูปคดีต่อไป
(๒) ถ้าโจทก์กับจ าเลยที่ตกลงยอมความกันได้ โดยโจทก์พอใจต่อเงื่อนไขที่จ าเลย
ซึ่งเป็นลูกหนี้ชั้นต้นเสนอบุคคลใด ๆ เข้ามาเป็นผู้ค ้าประกันในศาลตามมาตรา ๒๗๔ กรณีเช่นนี้
คู่ความที่ตกลงกันได้อาจใช้วิธีการตามมาตรา ๒๗๔ ให้มีบุคคลผู้เข้ามาเป็นผู้ค ้าประกันในศาล
โดยท าหนังสือประกันหรือวิธีอื่น ๆ เพื่อเป็นการช าระหนี้ตามค าพิพากษาตามยอมนั้น
แล้วโจทก์ถอนฟ้องจ าเลยอื่นนั้นเสีย ก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่พอจะแก้ปัญหาได้เช่นกัน
ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๕๕๔/๒๕๓๖ โจทก์ยื่นค าร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อน
พิพากษาและยื่นค าขอในเหตุฉุกเฉินเมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๓๑ ศาลชั้นต้นมิได้ท าการไต่สวน
ค าร้องทั้งสองฉบับของโจทก์ในวันดังกล่าว แต่มีค าสั่งให้ส่งส าเนาค าร้องทั้งสองฉบับให้แก่
จ าเลยทั้งสี่ และนัดไต่สวนค าร้องในวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๓๑ การที่ศาลชั้นต้นให้นัดไต่สวน
ค าร้องของโจทก์หลังวันยื่นค าร้องถึง ๘ วัน จึงมิใช่เป็นการพิจารณาเป็นการด่วนตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๖๗ ถือว่าศาลชั้นต้นด าเนินการไต่สวนค าร้องของโจทก์อย่างวิธีธรรมดา ดังนี้ เมื่อศาลอุทธรณ์