Page 47 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 47

คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง   ๑๙


                  ข้อต่อสู้ของจ าเลยที่ว่าโจทก์ยังไม่มีอ านาจฟ้องขับไล่เท่านั้น มิใช่เป็นเรื่องแย่งกรรมสิทธิ์ใน

                  ทรัพย์สินอันจะท าให้เป็นคดีที่มีค าขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจค านวณเป็นราคาเงินได้ (ฎีกาที่

                  ๘๙๖๐/๒๕๕๑)

                                    โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจ าเลยทั้งสามร่วมกันน าสมุดคู่มือทะเบียนรถยนต์

                  พิพาทให้นายทะเบียนใส่ชื่อโจทก์เป็นเจ้าของ  ปรากฏว่าโจทก์กับจ าเลยที่ ๑ และที่ ๒ คงโต้เถียง

                  กันว่า จ าเลยที่ ๑ และที่ ๒  ได้โอนสิทธิการเช่าซื้อให้แก่โจทก์หรือไม่  และโจทก์ได้ช าระค่าเช่าซื้อ

                  ครบถ้วนแล้วหรือไม่  หากศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี  โจทก์ย่อมได้กรรมสิทธิ์ในรถยนต์

                  พิพาท  ส่วนค าขอท้ายฟ้องดังกล่าวเป็นเพียงผลจากการที่ศาลได้พิพากษาว่า  โจทก์มีกรรมสิทธิ์

                  ในรถยนต์พิพาท  จึงเป็นคดีมีทุนทรัพย์ตามราคารถยนต์  (ฎีกาที่  ๖๘๕๗/๒๕๓๙)

                             ๑.๑.๔ กรณีคดีเดียวกันมีโจทก์หรือจ าเลยหลายคน  ถ้าต่างคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัว

                  ต้องคิดทุนทรัพย์แยกกันเป็นคน ๆ ไป  เช่น  โจทก์ทั้งสองฟ้องให้จ าเลยช าระหนี้แก่โจทก์ทั้งสอง


                  คนละจ านวนแยกจากกันโดยเสียค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมาในอัตรา
                  สูงสุดเป็นเงินคนละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท  เมื่อจ าเลยฎีกาขอให้ยกฟ้องโจทก์ทั้งสอง  จึงต้องเสีย


                  ค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องในอัตราสูงสุดคนละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท  (ฎีกาที่
                                   
                  ๒๔๒๑/๒๕๓๘)  แต่ถ้าเป็นการร่วมกันใช้สิทธิเรียกร้องเอาสิ่งเดียวกันแล้ว  ต้องคิดทุนทรัพย์

                  รวมกัน  หรือกรณีโจทก์คนเดียวฟ้องจ าเลยหลายคนให้ร่วมรับผิดในหนี้รายเดียวกันโดยมิได้แยก

                  ความรับผิดของแต่ละคนเป็นส่วน ๆ ต่างหากจากกันแล้วก็ต้องคิดทุนทรัพย์รวมกัน  หรือกรณีที่

                  ทุนทรัพย์ของโจทก์แต่ละคนแยกกันได้  หรือโจทก์แต่ละคนมีสิทธิเรียกร้องที่สามารถจะฟ้องคดี

                  ได้โดยล าพังตนเอง  หากโจทก์ฟ้องรวมกันเป็นคดีเดียว  ค่าขึ้นศาลต้องค านวณตามทุนทรัพย์

                  ที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้อง  (ฎีกาที่ ๓๖๐๑/๒๕๓๐)

                             ๑.๑.๕ การพิจารณาว่าคดีใดจะต้องเสียค่าขึ้นศาลเท่าใดต้องพิจารณาค าฟ้องเป็น

                  เกณฑ์ (ฎีกาที่ ๖๘๘๒/๒๕๔๓) ซึ่งต้องดูว่าค าฟ้องที่เสนอต่อศาลมีกี่ข้อหาแต่ละข้อหาเกี่ยวข้อง

                  หรือแยกจากกัน  โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายในฐานผิดสัญญาข้อหาหนึ่ง  และฟ้องเรียกค่าเสียหาย

                  ฐานละเมิดอีกข้อหาหนึ่ง  ค าฟ้องของโจทก์จึงเป็นการเสนอข้อหา ๒ ข้อหา  และแยกจากกันได้

                  โจทก์จึงต้องเสียค่าขึ้นศาลทั้ง ๒ ข้อหา  (ฎีกาที่ ๑๒๑๖/๒๕๓๕)

                                    ข้อสังเกต

                                    ๑. ถ้าปรากฏว่าค าฟ้องที่เสนอต่อศาลมีมูลหนี้ที่แยกจากกันได้อย่างชัดเจน

                  หรือสามารถแยกฟ้องได้ ให้เรียกค่าขึ้นศาลแยกต่างหากจากกัน  แต่ถ้าขณะพิจารณาค าฟ้องยัง


                           คดีฟ้องตั้งแต่วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็ นต้นไป  ค่าขึ้นศาลค านวณตามทุนทรัพย์ที่พิพาท

                  ไม่จ ากัดอัตราสูงสุดเพียง ๒๐๐,๐๐๐ บาท
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52