Page 22 - นโยบายการกำกับดูแลกิจการ
P. 22

•  บริษัทฯ ไม่เรียกร้อง รับเอา หรือใช้ข้อมูลทางธุรกิจ ซึ่งได้มาโดยวิธีการที่มิชอบด้วยกฎหมายหรือผิดศีลธรรม

                        รวมถึงบริษัทฯ จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น

                4. การปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม

                    •  บริษัทฯ ก าหนดนโยบายเพื่อสนับสนุนการด าเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส และเป็นธรรมกับทุกฝ่าย

                        ที่เกี่ยวข้องแล้ว
                5. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

                    •  คณะกรรมการบริษัทฯ ก าหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ได้แก่ นโยบาย

                        ว่าด้วยการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น นโยบายว่าด้วยการสนับสนุนด้านการเมือง นโยบายว่าด้วยการรับ การ
                        ให้ของขวัญ ทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อื่นใด นโยบายว่าด้วยการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน นโยบายว่า

                        ด้วยการให้เงินสนับสนุน และนโยบายว่าด้วยการบริจาคเพื่อการกุศล โดยก าหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และ

                        พนักงานของบริษัทฯ รวมทั้งพนักงานในบริษัทย่อย บริษัทร่วม ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดโดยทั่วกัน ซึ่ง

                        บริษัทฯ เผยแพร่มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นให้กับพนักงานทุกคนรับทราบ รวมถึงการปฐมนิเทศ

                        พนักงานใหม่ทุกครั้ง และเผยแพร่เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มรับทราบมาตรการดังกล่าว ผ่านทางเว็บไซต์
                        ของบริษัทฯ (www.supalai.com)

                    •  คณะกรรมการบริษัทฯ ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ การติดตาม และการรายงานผลอย่างเป็นลายลักษณ์

                        อักษร โดยมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้ก ากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรการต่อต้านการ

                        ทุจริตคอร์รัปชั่น    สอบทานมาตรการและการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้อง รายงานเกี่ยวกับความเพียงพอและ

                        ประสิทธิภาพของมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึงการสอบทานการประเมินความเสี่ยงด้านการ
                        ทุจริตคอร์รัปชั่น

                    •  การประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต

                           บริษัทฯ มีการก าหนดให้ประเมินความเสี่ยงด้านทุจริตของหน่วยงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง  โดยมี

                        ขั้นตอนการด าเนินการ  ดังนี้

                           1.  การระบุความเสี่ยง โดยหัวหน้าหน่วยงานแต่ละหน่วยงาน ทั้งบริษัทฯ และบริษัทย่อย ท าการระบุความ
                               เสี่ยงด้านทุจริตที่อาจเกิดขึ้น

                           2.  การประเมินความเสี่ยง โดยให้ทุกหน่วยงานในบริษัทฯ ท าการประเมินความเสี่ยงด้านทุจริตของตนเอง

                           3.  การจัดการความเสี่ยง  ก าหนดให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงประเมิน  วิเคราะห์ความเสี่ยง

                               จัดล าดับความเสี่ยง  ก าหนดแนวทางและกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับการทุจริต เพื่อให้

                               ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้  ภายใต้ต้นทุนที่เหมาะสม  รวมถึงรายงานผลการประเมินความ
                               เสี่ยงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทพิจารณาเห็นชอบ




                                                                                                             18
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27