Page 23 - ลง E book - สำเนา
P. 23

กราฟในรูปที่ 2 แสดงให้เห็นถึงลักษณะของการเสื่อมสภาพ การสึกหรอของวัสดุ ชิ้นส่วน
                       อุปกรณ์ ตามระยะเวลาการใช้งาน ซึ่งมีผลท าให้มิติหรือขนาดของชิ้นส่วนเปลี่ยนไป มีผลท าให้ความ
                       แข็งแรงของชิ้นส่วนดังกล่าวมีค่าลดลงไปตามการใช้งานและสุดท้าย เมื่อค่าความแข็งแรงมีค่าลดลงจน
                       ใกล้หรือต่ ากว่าค่าภาระใช้งาน จะเป็นจุดที่เส้นกราฟ 2 เส้นนี้มาบรรจบกัน ซึ่งเป็นจุดที่ชิ้นส่วนจะ

                       ช ารุดหรือแตกหักเสียหาย
                              2. การเสื่อมสภาพที่ไม่ขึ้นกับเวลา (Time independent degradation)














                                            รูปที่ 3 กราฟแสดงการเสื่อมสภาพที่ไม่ขึ้นกับเวลา
                                                 (ที่มา : สุรพล ราษร์นุ้ย. 2545 : 32)

                              ในการเสื่อมสภาพจนช ารุดในลักษณะนี้ เป็นการช ารุดโดยไม่เกี่ยวข้องกับช่วงระยะเวลาใช้

                       งานหรือเป็นอิสระต่อระยะเวลาการใช้งาน หรืออาจจะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ก็มีผลท าให้เกิดการช ารุดได้
                       (การช ารุดแบบ “ทันทีทันใด”) ซึ่งกรณีนี้ ตรงกันข้ามกับกรณีแรก (กรณีแรกเป็นการช ารุดแบบ “ค่อย
                       เป็นค่อยไป”) หากดูจากกราฟในรูปที่ 2 จะเห็นว่าค่าอัตราส่วนระหว่างค่าความแข็งแรงวัสดุต่อภาระ

                       ใช้งานซึ่งเรียกว่าปัจจัยความปลอดภัย Safety Factor โดยทั่วไปวิศวกรออกแบบมาก าหนดให้มีค่า
                       มากกว่าหนึ่ง หากแต่ว่า เมื่อใดที่มีการใช้เครื่องจักรผิดวิธี หรือการเกิดภาระกระแทก หรือ Shock or
                       Impact Road อาจเกิดจากอุบัติเหตุ หรือใช้เครื่องจับผิดวิธี ก็จะท าให้ภาระที่กระท าต่อชิ้นส่วน
                       ดังกล่าว พุ่งขึ้นสูงมาก จนไปบรรจบกับค่าความแข็งแรงของวัสดุ จนท าให้วัสดุทนภาระดังกล่าว ไหม้

                       ได้และเกิดการช ารุด หรือแตกหักในที่สุด
                              จากทั้งสองหัวข้อ คือ การช ารุด หรือเสื่อมสภาพตามเวลา time dependent มักจะ
                       เกี่ยวข้องกับการสึกหรอ ส่วนการช ารุดแบบไม่ขึ้นกับเวลา time independent จะเกี่ยวข้องกับการ
                       แตกหัก โดยสรุปแล้วก็คือ จะตรงกับค านิยามง่ายๆ ของการท างานของวิศวกรซ่อมบ ารุงใน

                       ต่างประเทศที่ว่า “Maintenance engineer’s jib involves wear & tear businesses” นั่นคือ
                       วิศวกรซ่อมบ ารุง ต้องด าเนินการเกี่ยวข้องกับการป้องกันการสึกหรอ หรือป้องกันการเสื่อมสภาพ
                       และท าการซ่อม ส่วนที่มีการแตกหักเสียหาย ซึ่งท าให้สามารถนิยามค าว่า วิศวกรรมซ่อมบ ารุง หรือ
                       แผนกซ่อมบ ารุงได้ว่า ต้องท าการบ ารุงรักษาส่วนที่ยังดีอยู่ของเครื่องจักรกลให้ใช้ได้ต่อ หรืออีกนัยหนึ่ง

                       คือ ต้องพยายามชะลอการเสื่อมสภาพตามเวลาให้ยาวนานมากที่สุดเท่าที่จะท าได้ โดยการบ ารุงรักษา
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28