Page 84 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 84

81





              ชื่อเรื่อง (องค์ความรู้)  ถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบมีเมมเบรนในการบ าบัดน้ าเสียเพื่อการน าน้ ากลับมาใช้ใหม่
              ผู้เขียน/ผู้จัดท า
                     นางสาวสุดา  อิทธิสุภรณ์รัตน์   นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช านาญการ
                     สังกัด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม


              สาระส าคัญ
                     ปัจจุบัน วิกฤตปัญหาด้านน้ าเพื่อการอุปโภค บริโภค ถือว่าเป็นปัญหาที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้น ในหลายๆ

              พื้นที่ มีการขาดแคลนน้ าอย่างมาก มีปัญหาการแย่งน้ าทั้งเพื่อการผลิตน้ าประปา การเกษตรกรรม และการท า
              อุตสาหกรรม ซึ่งน้ าที่มีการใช้ประโยชน์ไปแล้ว จัดเป็นน้ าเสียที่มักจะถูกระบายลงแหล่งน้ าธรรมชาติ โดยไม่ได้รับการ
              บ าบัดอย่างถูกวิธี ท าให้เกิดปัญหาน้ าเน่าเสีย ระบบนิเวศน์เสื่อมโทรม ทั้งนี้ ในการแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ าอุปโภค
              บริโภค นอกจากการที่แต่ละคนช่วยกันประหยัดน้ า ใช้น้ าอย่างรู้คุณค่า น้ าเสียที่เกิดขึ้นนั้น ก็จัดเป็นต้นทุนน้ าที่สามารถ

              น ากลับมาใช้ใหม่ได้ เมื่อมีการผ่านกระบวนการบ าบัดอย่างเหมาะสม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยศูนย์วิจัยและ
              ฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ได้ด าเนินการวิจัยการบ าบัดน้ าเสียจากการซักล้าง (grey water) ซึ่งเป็นปริมาณน้ าเสียที่มี
              มากกว่าร้อยละ 80 ของน้ าเสียที่เกิดขึ้นทั้งหมด เพื่อน าน้ าที่ผ่านการบ าบัดแล้วมาใช้ประโยชน์ส าหรับภาคชุมชนและภาค
              เกษตรกรรมเพื่อทดแทนน้ าที่ใช้จากชักโครก การปรับปรุงภูมิทัศน์ และการเกษตรกรรม ด้วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบมี

              เมมเบรน (membrane bioreactor: MBR) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสภาวะที่เหมาะสมในการบ าบัดน้ าเสียและ
              การน าน้ าที่ผ่านการบ าบัดไปใช้ได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงสามารถน าความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการ
              บริหารจัดการน้ าอย่างเหมาะสมและยั่งยืนต่อไป


              วัตถุประสงค์
                     เพื่อส่งเสริมการน าถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบมีเมมเบรนในการบ าบัดน้ าเสียเพื่อการน าน้ ากลับมาใช้ใหม่


              ขั้นตอน/กระบวนการท างาน
              1. การทดสอบประสิทธิภาพการบ าบัดน้ าเสียด้วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบมีเมมเบรน ที่รองรับน้ าเสียได้ 10 ลูกบาศก์
              เมตร/วัน โดยใช้เมมเบรนแบบเส้นใย (Hollow Fiber) ที่มีขนาดรูกรอง 0.1 ไมครอน และมีระยะเวลากักพักทางชล
              ศาสตร์ 12 ชั่วโมง ซึ่งได้ติดตั้งที่หอพักบุคลากรกัลยาณมิตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดังรูปที่ 1 ท าการเก็บตัวอย่าง

              เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการบ าบัดทุก 2  สัปดาห์ เป็นระยะวเลาเกือบ 5 เดือน









                                  รูปที่ 1 ระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบมีเมมเบรนและถังรวบความน้ าเสีย
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89