Page 81 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 81

78






                     พารามิเตอร์                         ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตในน้ า
               ทองแดง (Copper, Cu)      เป็นธาตุอาหารที่จ าเป็นต่อสิ่งมีชีวิต แต่ต้องการในปริมาณน้อยมาก มนุษย์ต้องการ
                                        ทองแดงประมาณ 2 มิลลิกรัมต่อวัน ส่วนที่ได้รับมากเกินไป จะขับออกจากร่างกายโดย

                                        ไม่มีการสะสมเหมือนตะกั่วหรือปรอท ผู้บริโภคทองแดงเข้าไปมากประมาณ 60 ถึง
                                        100 มิลลิกรัมต่อวัน อาจท าให้เกิดอาการผิดปกติกับกระเพาะอาหารได้
               แมงกานีส (Manganese,  น้ าผิวดินมักไม่มีปัญหาแมงกานีส ยกเว้นแหล่งน้ าที่มีการแบ่งชั้นน้ า (Stratification)

               Mn)                      และมีสภาวะไร้ออกซิเจนจนเกิดขึ้นในชั้นตะกอน จึงมีการปล่อย Mn  ให้กับน้ า และ
                                                                                                 2+
                                                                                    2+
                                        การพลิกตัวของชั้นน าในช่วงเปลี่ยนฤดูกาลท าให้ Mn  ถูกพลิกขึ้นมาอยู่บนผิวน้ าและ
                                        ถูกสูบไปใช้ในน้ าดิบในการผลิตประปา ท าให้น้ าประปาที่ผลิตได้มีกลิ่นเหม็นและมีสีแดง
                                        การดื่มน้ าที่มีแมงกานีสเป็นเวลานานไม่พบการเป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ดื่ม แต่

                                        แมงกานีสท าให้เกิดคราบสนิมสกปรกเป็นกับเครื่องสุขภัณฑ์ต่าง ๆ ได้
               สังกะสี (Zinc, Zn)       สังกะสีเป็นธาตุที่มีประโยชน์และจ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต หากได้รับใน
                                        ปริมาณที่เหมาะสม ถ้าในน้ าที่เป็นด่างและมีสังกะสีมากกว่า 50 มิลลิกรัมต่อลิตร น้ า

                                        อาจมีรสขมและมีสี โดยทั่วไปสังกะสีสามารถเข้าสู่น้ าประปา เนื่องจากการสึกกร่อนของ
                                        เหล็กอาบสังกะสีและเข้าสู่แหล่งน้ าธรรมชาติโดยการทิ้งน้ าเสียจากโรงงาน การที่มนุษย์
                                        หรือสัตว์ได้รับปริมาณสังกะสีหรือสารประกอบสังกะสีที่มีปริมาณมาก ๆ ในอาหารจะ
                                        เป็นพิษต่อร่างกายและเป็นสาเหตุท าให้เกิดโรคมะเร็งได้ ดังนั้น ในอาหารทุกชนิดควรมี

                                        สังกะสีอยู่ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
               สารหนู (Arsenic, As)     สารหนูมีความเป็นพิษอย่ารุนแรง และก่อให้เกิดมะเร็ง เมื่อเข้าไปอยู่ในร่างกายโดยการ
                                        กินและการหายใจ จะท าลายระบบทางเดินอาหารและส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย และอาจ
                                        ตายในที่สุด จึงนิยมใช้เป็นยาเบื่อหนูและเป็นที่มาของชื่อสารหนู ผู้ที่บริโภคน้ าที่มีสาร

                                        หนูเข้าไปเพียง 100 mg สามารถก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ และยังสามารถสะสมอยู่
                                        ในร่างกายท าให้เกิดอันตรายได้ในระยะยาว นอกจากนี้ ยังมีรายงานว่าเป็นต้นเหตุให้
                                        เกิดโรคมะเร็ง ดังนั้น ในน้ าดื่ม จึงไม่ควรมีสารหนูเกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร สารหนู
                                        สามารถพบได้ในน้ าธรรมชาติโดยเฉพาะน้ าบาดาลซึ่งเกิดจากการละลายของแร่ธาตุใน

                                        น้ าและน้ าทิ้งจากโรงงานที่มีการใช้ยาก าจัดศัตรูพืชหรือสัตว์
               นิกเกิล (Nickel, Ni)     เป็นอันตรายต่อระบบนิเวศในแหล่งน้ า และเป็นสารก่อมะเร็ง ผู้ที่สัมผัสอาจเกิดอาการ
                                        แพ้ของผิวหนัง บวม อักเสบหรือเกิดผื่นคัน หากเกิดบาดแผลบริเวณที่สัมผัส อาจท าให้

                                        นิกเกิลละลายเข้าสู่ร่างกาย ส่งผลให้ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายถูกท าลาย มีผลให้ผิวหนัง
                                        บริเวณนั้น บวมอักเสบเกิดผื่นคันเป็นแผลพุพอง เน่าเปื่อย ในบางรายอาจรุนแรงถึงขั้น
                                        ติดเชื้อลุกลามถึงแก่ชีวิต
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86