Page 82 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 82
79
พารามิเตอร์ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตในน้ า
คลอรีนอิสระ (Free คลอรีนเป็นส่วนหนึ่งของเกลือทะเล และสารประกอบอื่น ๆ มีสีเขียวอมเหลือง มีกลิ่น
Chlorine) เหม็นรุนแรง และเป็นพิษร้ายแรง คลอรีนยังกัดกร่อนโลหะเกือบทุกชนิด และมี
ผลกระทบต่อมนุษย์และการเกิดพิษน้อยจะท าให้ระคายเคือง น้ าตาไหล ไอและมีน้ ามูก
ไหลบริเวณสัมผัส ในปริมาณ 2-5 mg อาการเกิดผิดค่อนข้างมาก จะท าให้ทางเดิน
หายใจไม่สะดวก ลืมตาไม่ค่อยขึ้น เจ็บหน้าอก และเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตในเวลา 30
นาทีถึง 1 ชั่วโมง เมื่อได้รับในปริมาณ 5 ถึง 30 mg และเป็นพิษมาก จะมีอาการหายใจ
ไม่ออกหมดสติและเสียชีวิตใน 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมง เมื่อรับในปริมาณ 30 ถึง 60 mg
และมีอาการเสียชีวิตทันทีหากรับในปริมาณ 1,000 mg
ซัลไฟด์ (Sulfide) ผู้ที่ดื่มน้ ามีซัลไฟด์มาก จะก่อให้เกิดท้องร่วงซันไฟด์ ยังก่อให้เกิดตะกรันในหม้อน้ า มี
กลิ่นเหม็น และกัดกร่อนท่อน้ าเสีย นอกจากนี้ ซัลไฟด์สามารถเปลี่ยนเป็นก๊าซ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ได้ ในสภาวะไร้อากาศ ซึ่งมีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า เกิดจากการเน่า
เปื่อย และย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศของสารอินทรีย์ โดยเฉพาะไข่ขาว (Albumin)
ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ยังพบมากในน้ าเสียหรือท่อระบายน้ าเสีย และน้ าเสียในโรงงาน
บางประเภท เช่น กลั่นน้ ามัน เส้นใยสังเคราะห์ เป็นต้น นอกจากนี้ ก๊าซ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ยังส่งผลกระทบต่อระบบบ าบัดน้ าเสียแบบเติมอากาศ เกิดกลิ่นเหม็น
รุนแรง การสึกกร่อนอุปกรณ์โลหะ เป็นพิษต่อแบคทีเรียที่ผลิตมีเทน เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต
หากได้รับเพียงร้อยละ 0.03 หรือ 300 ส่วนในล้านส่วน ส่งผลให้เสียชีวิตได้
ไซยาไนด์ (Cyanide) ปกติร่างกายมนุษย์สามารถทนไซยาไนด์ได้ประมาณ 2.9 ถึง 4.7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
ต่อวัน แต่ระดับไซยาไนด์ที่เป็นพิษต่อมนุษย์คือ 0.5 ถึง 3.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หาก
เกิดอาการพิษไซยาไนด์จะสะสมเรื้อรัง มักพบอาการผิดปกติของสมอง อาการทางจิต
ประสาทตาเสื่อม หรือฝ่อ ส่วนผู้ที่ได้รับพิษมากจะเกิดอาการเฉียบพลัน เซลล์สมองขาด
ออกซิเจน ชักหมดสติ หายใจผิดปกติ และอาจถึงเสียชีวิตได้
ฟีนอล (Phenol) ฟีนอล เป็นสารพิษท าให้ระคายเคืองเยื่อเมือกต่าง ๆ ผิวหนังพุพอง และอาจซึมเข้า
ร่างกายทางผิวหนัง เกิดอาการปวดร้อนชา หากกลืนเข้าไปเป็นพิษต่อตับ ไต และกด
การท างานประสาทส่วนกลาง
น้ ามันและไขมัน (FOG) น้ ามันและไขมันเป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายทางชีวภาพยาก และเป็นคราบสกปรกลอย
อยู่บนผิวน้ าของแหล่งน้ า ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศสัตว์หรือพืชน้ า
สารฆ่าศัตรูพืชหรือสัตว์ ความเป็นพิษของ Pesticides ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นและระยะเวลาที่ร่างกายได้รับ
(Pesticides) อันตรายดังกล่าวอาจเกิดขึ้นเฉียบพลันในขณะที่ได้รับครั้งเดียวหรือภายในระยะเวลาสั้น
หรืออาจเกิดหลังจากได้รับเป็นเวลานานสะสมเรื้อรัง ลักษณะของพิษที่เกิดขึ้น เช่น ต่อ
ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ ผิวหนัง เกิดโรคมะเร็ง ก่อการกลายพันธุ์ (mutagenic)
รูปลักษณะเปลี่ยนแปลงไป (teratogenic)