Page 80 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 80
77
พารามิเต ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตในน้ า
อร์
แอมโมเนี ปริมาณแอมโมเนีย-ไนโตรเจน บ่งชี้สภาพความสกปรกของแหล่งน้ าที่เกิดจากของเสียหรือน้ าทิ้ง ที่มี
ย - ส่วนประกอบโปรตีน โดยเฉพาะน้ าทิ้งจากแหล่งชุมชนฟาร์มสุกร หากตรวจพบว่า แหล่งน้ ามีปริมาณ
ไนโตรเจน แอมโมเนีย-ไนโตรเจนสูง แสดงว่าแหล่งน้ ามีการปนเปื้อนจากมลพิษสูงและอาจเป็นพิษต่อการด ารงชีวิต
(NH3-N) ของสัตว์น้ า
ป ร อ ท ปรอทสามารถสะสมในสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ า และสามารถเข้าสู่มนุษย์ได้ผ่านห่วงโซ่อาหาร หากมนุษย์น า
(Hg) สัตว์น้ าเหล่านั้นมาบริโภคในปริมาณมาก อาจท าให้น้ าลายไหลมากกว่าปกติต่อมาเจ็บปวดบริเวณเหงือก
หรือปาก เหงือกบวมอักเสบ เลือดออกง่าย อาจจะพบเส้นคล้ าๆ ของปรอทที่เหงือกต่อกับฟันได้
เช่นเดียวกับตะกั่ว บางรายอาจมีอาการล าไส้ใหญ่อักเสบ ถ่ายเป็นมูกเลือด มีอาการสั่นกระตุกของ
กล้ามเนื้อเปลือกตา ริมฝีปาก ลิ้นเป็นพักๆ อารมณ์อ่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ง่าย โมโห ฉุนเฉียวและ
หงุดหงิดง่าย ระงับอารมณ์ไว้ไม่อยู่ ความจ าเสื่อม
แคดเมียม อันตรายของแคดเมียมมีทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง ซึ่งอาการเฉียบพลันจากการบริโภคอาหารนั้น จะท าให้มี
(Cadmiu อาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ มีน้ าลายไหล ปวดท้อง ไตและตับถูกท าลาย
m, Cd) หากเป็นอาการเรื้อรังจากการหายใจ ท าให้มีอาการสูญเสียการรับกลิ่น น้ าหนักลด เลือดจาง หายใจ
ล าบาก ฟันมีคราบสีเหลือง ตับและไตอาจถูกท าลาย ปริมาณแคดเมียมมากกว่า 300 mg ท าให้ผู้บริโภค
ตายได้ และปริมาณต่ าสุด 10 mg จะท าให้มีอาการพิษของแคดเมียมแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน นอกจากนี้
ในน้ าที่มีแคดเมียมปริมาณเพียง 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถก่อให้เกิดความผิดปกติกับปลาได้
โครเมียม มีรายงานศึกษาในสัตว์ทดลองและการศึกษาทางระบาดวิทยาในคนงานที่ท างานสัมผัสกับโครเมียมเป็น
(Chromi เวลานาน ๆ มีโอกาสเป็นมะเร็ง ในน้ าดื่มยังก าหนดให้มีโครเมี่ยมไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร หากได้รับ
um, Cr) โครเมี่ยมโดยการกินเพียง 1 ถึง 3 กรัมอาจท าให้เสียชีวิตได้ นอกจากนี้ด้วยคุณสมบัติละลายน้ าได้ดีของ
สารประกอบโครเมียม ท าให้สามารถสะสมในสัตว์น้ า และเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
ต ะ กั่ ว ตะกั่วเป็นโลหะหนักที่มีพิษร้ายแรงต่อมนุษย์และสัตว์ สามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่น ทางอาหาร
(Lead, และน้ า ทางลมหายใจ และทางผิวหนัง พิษจากตะกั่วท าให้ร่างกายมีความผิดปกติต่าง ๆ เช่น คลื่นไส้
Pb) อาเจียน มีอาการทางประสาทและกล้ามเนื้อ นอนไม่หลับ คลุ้มคลั่ง เกิดความคิดสับสน ปวดศีรษะ ถ้า
ได้รับปริมาณมากอาจชักและตายได้ ร่างกายสามารถขับถ่ายและตะกั่วออกมาได้เพียงบางส่วน ส่วนที่
เหลือจะสะสมอยู่ในร่างกายที่ตับ ไต เลือดและเซลล์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นอันตรายได้ในภายหลัง ในแหล่งน้ ามัก
พบตะกั่วในปริมาณน้อย การปนเปื้อนของตะกั่วในแหล่งน้ า มักมีสาเหตุจากการปล่อยน้ าเสียจากโรงงาน
เหมืองแร่ น้ าฝนที่จะล้างตะกั่วจากอากาศและพื้นดินลงสู่แหล่งน้ า