Page 75 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 75

72





              6. การก าหนดความถี่ในการเก็บตัวอย่างน้ าผิวดิน
                     ข้อเสนอแนะทางวิชาการส าหรับความถี่ในการเก็บตัวอย่างน้ า เพื่อตรวจสอบคุณภาพน้ าในล าธารแม่น้ าและ
              ทะเลสาบ แหล่งน้ า
                     ความถี่ในการเก็บตัวอย่างน้ า

                     -  แม่น้ าหรือล าธารที่ใช้เป็นจุดอ้างอิง   อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี ในช่วงน้ ามากและน้อย
                     -  ทะเลสาบที่ใช้เป็นจุดอ้างอิง            1 ครั้งต่อปี
                     -  แม่น้ าทั่วไป                                 12 – 24  ครั้งต่อปี

                     -  ทะเลสาบทั่วไป                           1 – 2  ครั้งต่อปี
              7. การเตรียมความพร้อมก่อนออกภาคสนาม
                     การเตรียมความพร้อมก่อนออกภาคสนามย่อมท าให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างมีระบบและด าเนินงานได้ตาม
              วัตถุประสงค์ของการเก็บตัวอย่าง
                     1) วางแผนการออกส ารวจ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/จุดเก็บและจ านวนตัวอย่าง

                     2) เตรียมอุปกรณ์การส ารวจและเก็บตัวอย่าง คือ แบบส ารวจ/ปากกา/ขวดเก็บตัวอย่าง/ถังน้ า/ถุงมือ/GPS เป็น
              ต้น
                     3) ตรวจสอบความพร้อมก่อนการเดินทาง

                     การเตรียมอุปกรณ์การส ารวจและเก็บตัวอย่างน้ า
                     - อุปกรณ์การส ารวจ เช่น เครื่องมือวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ GPS ใช้วัดค่าพิกัด และแหล่งน้ า หรือจุดอ้างอิงทาง
              ภูมิศาสตร์ กล้องถ่ายรูปใช้ส าหรับถ่ายประกอบในการบันทึกข้อมูลภาคสนาม
                     - อุปกรณ์และเครื่องมือเก็บตัวอย่างน้ า ประกอบด้วย เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ าภาคสนาม ได้แก่ เครื่องวัด

              ออกซิเจนละลาย (DO Meter) เครื่องวัดความเป็นกรด-ด่าง (pH Meter) เครื่องวัดความเค็ม (Salinometer) การน า
              ไฟฟ้า (Conductivity Meter) อุณหภูมิ (Thermometer) เครื่องวัดความขุ่น (Turbidity Meter)
                     - ชุดอุปกรณ์ส าหรับเก็บตัวอย่างน้ า ประกอบด้วย เครื่องมือเก็บตัวอย่างน้ า เชือกส าหรับผูกติดเครื่องมือเก็บ
              ตัวอย่างน้ า เพื่อเก็บน้ าลึก ถังน้ าใส่ขวดเก็บตัวอย่างขณะท าการเก็บตัวอย่าง กรวยหรือกระบวยส าหรับใช้กรอกตัวอย่าง

              น้ าจากเครื่องเก็บตัวอย่างลงขวดเก็บตัวอย่างน้ า
                     ขวดเก็บตัวอย่างน้ า ประกอบด้วย
                     1) ขวดแก้วทึบแสงส าหรับเก็บแบคทีเรีย ขวดที่ใช้จะต้องมีการฆ่าเชื้อโรคโดยการสเตอริไลซ์เสียก่อน
                     2) ขวดแก้วทึบแสงส าหรับเก็บ Pesticide

                     3) ขวดแก้วทึบแสงส าหรับเก็บ Oil & grease
                     4) ขวดแก้วใสส าหรับเก็บ PO4-P
                     5) ขวดแก้วพลาสติก PE ส าหรับเก็บตัวอย่างน้ าวิเคราะห์ค่า BOD, NO2-N, SS etc.

                     6) ขวดพลาสติก HDPE ส าหรับเก็บตัวอย่างน้ าวิเคราะห์ TP, NO3-N, NH3-N etc.
                     7) ขวด DO
                     ระหว่างเก็บตัวอย่างน้ า
                     1) ใส่ถุงมือเพื่อป้องกันสิ่งสกปรกปนเปื้อน โดยก่อนเก็บตัวอย่างน้ าให้ใช้ตัวอย่างน้ าที่จะเก็บกลั้ว (rinse) ขวด
              เก็บตัวอย่างก่อน 2-3 ครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีสารแปลกปลอมอื่นเจือปนในขวดเก็บน้ า ยกเว้นขวดเก็บน้ าตัวอย่างเพื่อ
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80