Page 73 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 73

70





              แล้วน ามาวิเคราะห์ซึ่งเป็นผลวิเคราะห์คุณภาพน้ า ณ จุดนั้นและในเวลานั้นเท่านั้น การเก็บตัวอย่างแบบนี้จะท าให้ทราบ
              ถึงลักษณะสมบัติของแหล่งน้ าเฉพาะจุด และท าให้เห็นความผันแปรของลักษณะสมบัติและคุณภาพน้ าในจุดต่าง ๆ ได้
              ชัดเจน การเก็บตัวอย่างแบบจ้วง ในแม่น้ าล าธารควรเก็บที่กึ่งกลางความกว้างและความลึกของล าน้ า ส่วนในแหล่งน้ านิ่ง
              ให้เก็บกึ่งกลางความลึกของจุดเก็บน้ านั้น ๆ

                     วิธีที่ 2 การเก็บตัวอย่างแบบผสมรวม (composite sampling) เป็นการเก็บตัวอย่างแบบผสม โดยการเก็บ
              ตัวอย่าง ณ จุดเดียวกัน แต่ต่างเวลากัน เช่น เก็บทุกชั่วโมงในเวลา 2 ชั่วโมง หรือทุก 3 ชั่วโมงในเวลา 1 วันแล้วน ามา
              รวมกัน การเก็บตัวอย่างน้ าแบบนี้ เพื่อทราบค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของตัวอย่างน้ าในกรณีที่แหล่งน้ านั้น มีคุณสมบัติ

              เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หรือเป็นการเก็บตัวอย่าง ณ เวลาเดียวกันแต่หลายจุดซึ่งน ามาผสมกัน ซึ่งจะใช้ในกรณีของแม่น้ า
              หรือแหล่งน้ าที่มีความแตกต่างในแนวหน้าตัด ทั้งตามความยาวและความลึกของแหล่งน้ า ส่วนมากจะใช้วิธีนี้ในกรณีการ
              เก็บน้ าทิ้งจากท่อระบายน้ าทิ้ง หรือกรณีของแม่น้ าหรือแหล่งน้ า มีคุณสมบัติไม่สม่ าเสมอ และการเก็บตัวอย่างแบบนี้นิยม
              ใช้กับการเก็บตัวอย่างน้ าทิ้งจากแหล่งก าเนิดประเภทต่าง ๆ ที่มีปริมาณและลักษณะของน้ าเสียแตกต่างกันในแต่ละ
              ช่วงเวลาตัวอย่างของการเก็บตัวอย่างน้ าแบบผสมรวมในแหล่งน้ า

              3. การเก็บตัวอย่างน้ าผิวดิน
                     การเก็บตัวอย่างน้ าผิวดินจะเป็นการเก็บแบบจ้วง เนื่องจากวัตถุประสงค์หลักของการเก็บตัวอย่างน้ าผิวดิน คือ
              การติดตามตรวจสอบเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ าในแหล่งน้ า

                     การเก็บตัวอย่างน้ าผิวดิน อาจใช้การจุ่มขวดเก็บตัวอย่างน้ าโดยตรงกรณีน้ าลึกไม่เกิน 2 เมตร และผู้เก็บตัวอย่าง
              สามารถสัมผัสน้ าได้โดยตรง หรือหากกรณีน้ าลึก เกินกว่า 2 เมตร หรือ ผู้เก็บไม่สามารถสัมผัสน้ าได้โดยตรงอาจใช้
              อุปกรณ์เก็บตัวอย่างแล้วถ่ายลงขวดเก็บตัวอย่าง แต่ต้องกลั้วขวดเก็บตัวอย่างด้วยน้ าตัวอย่างที่เก็บก่อนทุกครั้งการเก็บ
              ตัวอย่างในแม่น้ าล าธารให้เก็บกึ่งกลางความกว้างและความลึกของล าน้ า เพียงหนึ่งตัวอย่างต่อหนึ่งจุด ส่วนกรณีแหล่งน้ า

              นิ่งให้เก็บกึ่งกลาง ความลึกของจุดเก็บน้ านั้น ๆ มีข้อยกเว้นส าหรับการเก็บตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์แบคทีเรียให้เก็บลึกจาก
              ผิวน้ าประมาณ 20 ถึง 30 cm เนื่องจาก เป็นช่วงความลึกที่แบคทีเรียด ารงชีวิตอยู่ได้ดีและให้เปิดและปิดฝาใต้น้ า เพื่อ
              เก็บตัวอย่างน้ าในปริมาณที่ต้องการโดยควรเว้นช่องว่างในขวดไว้ประมาณ 1 ใน 5 ส่วน เพื่อให้มีอากาศหายใจแก่
              แบคทีเรีย ทั้งนี้ ทุกครั้งที่เปิดและปิดฝาขวดตัวอย่าง ต้องระวังไม่ให้มือสัมผัสปากขวดโดยเด็ดขาด เพื่อป้องกันการ

              ปนเปื้อนจากความสกปรกของมือผู้เก็บตัวอย่าง การเก็บต้องหันปากขวดไปทางตรงข้ามกับทิศทางการไหลของน้ าเสมอ
              เพื่อให้น้ าไหลพาแบคทีเรียเข้าขวด น าขวดตัวอย่างขึ้นมาหอด้วยวัสดุการแสงเพื่อป้องกันไม่ให้แบคทีเรียถูกท าลายโดย
              รังสีจากแสงแดดและต้องแช่เย็นขณะน าตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ
              4. การก าหนดพารามิเตอร์ในการตรวจสอบคุณภาพน้ า

                     พารามิเตอร์ในการตรวจสอบคุณภาพน้ า โดยทั่วไป แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
                     1) ดัชนีวัดคุณภาพน้ าทางกายภาพ (Physical parameter) เช่น ความขุ่น อุณหภูมิ สี เป็นต้น
                     2) ดัชนีวัดคุณภาพน้ าทางเคมี (Chemical parameter) เช่น ออกซิเจนละลาย (DO) ปริมาณความสกปรกในรูป

              สารอินทรีย์ (BOD) ความเป็นกรด-ด่าง (pH) โลหะหนักต่าง ๆ และสารพิษอื่น ๆ เป็นต้น
                     3) ดัชนีวัดคุณภาพน้ าทางด้านชีวภาพ (Biological parameter) เช่น ปริมาณแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด
              หรือชนิด ปริมาณ สัดส่วนของสัตว์หรือพืชที่อาศัยในแหล่งน้ า เป็นต้น
                     การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ า โดยทั่วไปพารามิเตอร์พื้นฐานที่ควรใช้ตรวจสอบคุณภาพน้ า แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
              ดังนี้
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78