Page 77 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 77

74





              เพื่อให้คุณภาพน้ ากลับมาเป็นปกติตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพน้ าแหล่งน้ าผิวดินต่อไป
                      2. การประเมินโดยใช้ดัชนีคุณภาพน้ าแหล่งน้ าผิวดิน (Water Quality Index : WQI) เป็นการแสดงถึง
              สถานการณ์ของคุณภาพน้ าในภาพรวม โดยพิจารณาจากค่าคุณภาพน้ า5 พารามิเตอร์ ได้แก่ ออกซิเจนละลาย
              (Dissolved Oxygen : DO) ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (Biochemical Oxygen Demand : BOD) แบคทีเรีย กลุ่ม

              โคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria : TCB) แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria :
              FCB) แอมโมเนีย (Ammonia : NH3-N) มีคะแนนอยู่ระหว่าง 0 – 100  โดยจัดเกณฑ์คุณภาพน้ าเป็นดี มาก (คะแนน
              91-100) ดี (คะแนน 71-90) พอใช้ (คะแนน 61-70) เสื่อมโทรม (คะแนน31-60) และเสื่อมโทรม มาก (คะแนน 0-30)

              โดยจะแสดงคุณภาพน้ าโดยรวมในรูปของแผนที่
                      3. การจัดท ารายงานสถานการณ์คุณภาพน้ า หน่วยงานจัดรายงานสถานการณ์คุณภาพน้ าประจ าปี หรือรายไตร
              มาส เพื่อใช้ข้อมูลในการติดตามสถานการณ์คุณภาพน้ าของพื้นที่ เพื่อให้สามารถน ามาใช้วางแผนในการจัดการคุณภาพ
              น้ าของแหล่งน้ าในพื้นที่ได้
              10. การก าหนดประเภทแหล่งน้ า

                  ในการก าหนดมาตรฐานคุณภาพน้ าในแหล่งน้ าผิวดินได้มีการก าหนดประเภทของแหล่งน้ าโดยค านึงถึงการใช้
              ประโยชน์แหล่งน้ าในหลายๆ ด้าน จึงได้มีการก าหนดประเภทของแหล่งน้ าในแม่น้ าสายต่างๆ เป็นแหล่งน้ าประเภทใด
              ประเภทหนึ่ง โดยประเภทของแหล่งน้ า 5 ประเภท มีการก าหนดการใช้ประโยชน์หลักๆ ดังรายละเอียดดังนี้


                ประเภท แหล่งน้ า                                การใช้ประโยชน์
               ประเภทที่ 1       ได้แก่ แหล่งน้ าที่คุณภาพน้ ามีสภาพตามธรรมชาติโดยปราศจากน้ าทิ้งจากกิจกรรมทุก
                                 ประเภทและสามารถเป็น ประโยชน์เพื่อ (1) การอุปโภคและบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อ

                                 โรคตามปกติก่อน             (2) การขยายพันธุ์ตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตระดับพื้นฐาน (3)
                                 การอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ของแหล่งน้ า
               ประเภทที่ 2       ได้แก่ แหล่งน้ าที่ได้รับน้ าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ (1)

                                 การอุปโภคและบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุง
                                 คุณภาพน้ าทั่วไปก่อน (2) การอนุรักษ์สัตว์น้ า (3) การประมง (4) การว่ายน้ าและกีฬาทาง
                                 น้ า
               ประเภทที่ 3       ได้แก่ แหล่งน้ าที่ได้รับน้ าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ

                                 (1) การอุปโภคและบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการ
                                 ปรับปรุงคุณภาพน้ าทั่วไปก่อน (2) การเกษตร
               ประเภทที่ 4       ได้แก่ แหล่งน้ าที่ได้รับน้ าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ

                                 (1) การอุปโภคและบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการ
                                 ปรับปรุงคุณภาพน้ าเป็นพิเศษก่อน (2) การอุตสาหกรรม
               ประเภทที่ 5       ได้แก่ แหล่งน้ าที่ได้รับน้ าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อการ
                                 คมนาคม
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82