Page 78 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 78

75






              12. ผลกระทบของพารามิเตอร์ต่าง ๆ ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตในน้ า

                     พารามิเตอร์                         ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตในน้ า

                อุณหภูมิ (Temperature)  อุณหภูมิมีอิทธิพลโดยตรงและโดยอ้อมต่อการด ารงชีวิตของสัตว์น้ า ปกติในแหล่งน้ า จะ
                                        มีค่าอุณหภูมิผันแปรอยู่ในช่วง 23 - 35 องศาเซลเซียส อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง
                                        อย่างมากผิดปกติ อาจมีผลมาจากการระบายน้ าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม อุณหภูมิที่

                                        สูงกว่าปกติ 2 ถึง 3 องศาเซลเซียส อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ าได้
               ความเป็นกรด – ด่าง (pH)  แหล่งน้ าที่ดีควรมีค่า pH ใกล้เคียง 7 ซึ่งสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ในหลายด้าน อาทิ
                                        การอุปโภคบริโภค การด ารงชีวิตของสัตว์น้ า การเกษตร และอุตสาหกรรม แหล่งน้ าที่
                                        ค่า pH เกินมาตรฐาน อาจเป็นอันตรายต่อการด ารงชีวิตของสัตว์น้ าและเป็นอุปสรรค

                                        ต่อการใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
               การน าไฟฟ้า              ค่าที่แสดงถึงความสามารถของน้ า ในการเป็นสื่อน าทางไฟฟ้า ซึ่งขึ้นอยู่กับความ
               (Conductivity)           หนาแน่นของปริมาณเกลือหรือสารละลายอนินทรีย์ต่าง ๆ ในน้ า ค่าการน าไฟฟ้าส่วน

                                        ใหญ่จะแปรผันโดยตรงกับความเค็มของน้ า ดังนั้น การน าไฟฟ้าของน้ า จะมีผลโดยตรง
                                        ต่อการใช้ประโยชน์ด้านอุปโภคบริโภค และการเพาะปลูกแหล่งน้ าปกติจะมีค่าการน า
                                        ไฟฟ้าประมาณ 150 ถึง 300 ไมโครซีเมนต์ต่อเซนติเมตร แหล่งน้ าที่มีค่าการน าไฟฟ้า
                                        เกินกว่า 1,000 ไมโครซีเมนต์ต่อเซนติเมตร อาจไม่เหมาะส าหรับการผลิตประปา

                                        เพราะจะเริ่มมีรสเค็มและมีการปนเปื้อนสารละลาย ขณะที่แหล่งน้ าที่มีค่าการน าไฟฟ้า
                                        เกินกว่า 2,000 ไมโครซีเมนต์ต่อเซนติเมตร จะไม่เหมาะส าหรับน ามาใช้เพื่อ
                                        การชลประทานเพราะจะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช
               ความเค็ม (Salinity)      ระดับความเค็มจะแปรผันโดยตรงกับค่าการน าไฟฟ้า ความเค็มมีหน่วยเป็น ppt ส่วนใน

                                        พันส่วน น้ าที่มีความเค็มมากย่อมไม่เหมาะต่อการใช้ประโยชน์เพื่อการประปา
                                        การเกษตรและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืด ปกติจะเริ่มมีรสเค็มที่ระดับความเค็มประมาณ
                                        0.5 PPT ซึ่งจะเริ่มไม่เหมาะจะน ามาใช้เพื่อการประปาความเค็ม 1 ppt ไม่เหมาะจะ
                                        น ามาใช้เพื่อการชลประทานและความเค็มมีค่าเกินกว่า 7 ppt จะไม่เหมาะการ

                                        เพาะเลี้ยงและการด ารงชีวิตของสัตว์น้ าจืด
               ความขุ่น (Turbidity)     แหล่งน้ าที่มีความขุ่นสูง แสดงว่า มีการส่องผ่านของแสงน้อยซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก
                                        ตะกอนแขวนลอย สาหร่าย หรือสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่แขวนลอยในน้ า ความขุ่นมีหน่วยเป็น

                                        NTU แหล่งน้ าโดยทั่วไปไม่ควรมีค่าความขุ่นเกินกว่า 100 NTU จะส่งผลกระทบต่อการ
                                        ด ารงชีวิตของสัตว์และพืชน้ า อาทิเช่น บดบังแสงส าหรับการสังเคราะห์แสงของพืชน้ า
                                        และการหาอาหารของสัตว์น้ า นอกจากนี้ จะมีผลต่อระบบการผลิตประปาที่ต้องเพิ่ม
                                        ค่าใช้จ่ายส าหรับสารเคมีในการก าจัดตะกอนของน้ า เป็นต้น
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83