Page 76 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 76
73
วิเคราะห์แบคทีเรียไม่ต้องกลั้วขวดเก็บตัวอย่าง เนื่องจากผ่านการอบความร้อนฆ่าเชื้อแล้ว ทั้งนี้ขวดเก็บตัวอย่างจะเปิดฝา
เมื่อท าการเก็บตัวอย่างเท่านั้นและต้องระมัดระวังไม่ให้ฝาขวดสัมผัสกับสิ่งปนเปื้อน
2) เก็บตัวอย่างน้ าให้มีปริมาตรเพียงพอส าหรับการวิเคราะห์ในแต่ละพารามิเตอร์ และใช้อุปกรณ์เก็บตัวอย่างน้ า
ที่เหมาะสมกับสภาพจุดเก็บตัวอย่าง โดยมีข้อควรระวังในการเก็บตัวอย่างน้ า ดังนี้
- BOS, SS, TDS, NO2-N, PO4 3 - Pesticides ท าการเก็บตัวอย่างน้ าให้เต็มขวดจนล้น เพื่อไล่
ฟองอากาศให้หมดจนไม่มีช่องว่างภายในภาชนะและปิดฝาให้สนิททันที เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้อากาศที่เหลืออยู่บนผิว
น้ าละลายเข้าไปในตัวอย่าง ซึ่งจะท าให้ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงได้
- COD, TN, TKN, NH3-N, NO3-N, TP, FOG และโลหะหนัก ไม่ควรเก็บตัวอย่างน้ าให้เต็มขวด
เนื่องจากจะต้องเหลือที่ว่างไว้ส าหรับเติมสารเคมีเพื่อรักษาสภาพตัวอย่างและเขย่าให้ผสมเข้ากัน
- PCB และ FCB ขวดเก็บตัวอย่างต้องผ่านการอบไอน้ าฆ่าเชื้อจากห้องปฏิบัติการก่อน ห้ามเปิดขวด
ก่อนเก็บ เมื่อท าการเก็บให้เปิดฝาขวดและเก็บตัวอย่างน้ าใต้ผิวน้ า ระวังมีให้สิ่งหนึ่งสิ่งใดสัมผัสฝาและปากขวด และไม่
ควรเก็บตัวอย่างน้ าเต็มขวด ควรเว้นช่องว่างในขวดไว้ประมาณ 1 ใน 5 ส่วน ให้มีอากาศเพื่อการหายใจของแบคทีเรีย
และเว้นไว้ส าหรับการเขย่าขวดก่อนวิเคราะห์ตัวอย่าง เมื่อเก็บตัวอย่างน้ าเรียบร้อยแล้ว ให้ตรวจสอบความเรียบร้อยอีก
ครั้งว่า ขวดที่เก็บตัวอย่างทุกขวดมีสภาพปกติไม่รั่วซึม
หลังเก็บตัวอย่างน้ า
1. ตรวจวัดค่า pH และอุณหภูมิทันที หลังจากเก็บตัวอย่างน้ า และบันทึกผล
2. รักษาสภาพตัวอย่างน้ า (Preservation) เพื่อป้องกันมิให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะสมบัติของตัวอย่างน้ า
ในระหว่างที่ยังไม่ได้ท าการวิเคราะห์ โดยทั่วไปการรักษาสภาพตัวอย่างน้ ามี 2 วิธี คือ
(1) การแช่เย็นตัวอย่างน้ าที่อุณหภูมิ 4±2 องศาเซลเซียส เพื่อลดหรือยับยั้งการท างานของจุลินทรีย์ชั่วคราว
และลดอัตราการเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
(2) การเติมสารเคมีรักษาสภาพตัวอย่างน้ า เพื่อป้องกันการดูดซับปริมาณสารที่ต้องการวิเคราะห์ที่ผิวภาชนะ
ป้องกันการตกตะกอนและยับยั้งการท างานของจุลินทรีย์ โดยทั่วไปการรักษาสภาพโดยการโดยเติมสารเคมีจะใช้ควบคู่กับ
การแช่เย็นตัวอย่างน้ า
8. การวิเคราะห์ตัวอย่างน้ า
ตัวอย่างน้ าที่น ามาท าการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ในพารามิเตอร์ที่ก าหนดไว้ในมาตรฐานคุณภาพน้ าในแหล่งน้ า
ผิวดิน โดยวิธีการตรวจสอบเป็นไปตามวิธีการมาตรฐานส าหรับการวิเคราะห์น้ า และน้ าเสีย ที่กรมควบคุมมลพิษก าหนด
9. การจัดท ารายงานสถานการณ์คุณภาพน้ า
1. การประเมินโดยการเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้ าาแหล่งน้ าผิวดิน เป็นการน าผลการวิเคราะห์ ตัวอย่างน้ า
จากห้องปฏิบัติการมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานเป็นรายพารามิเตอร์ (ทั้งนี้ค่ามาตรฐานก าหนด ค่าสูงสุด กล่าวคือใน
แหล่งน้ าจะต้องมีค่าผลตรวจวัดพารามิเตอร์ต่างๆ ไม่สูงกว่าค่ามาตรฐานที่ก าหนด ยกเว้น ค่า ออกซิเจนละลายน้ า (DO)
เป็นค่ามาตรฐานต่ าสุด กล่าวคือในแหล่งน้ าจะต้องมีค่า DO ไม่ต่ ากว่าค่ามาตรฐานที่ก าหนด ตามการแบ่งประเภท
คุณภาพน้ าตามการใช้ประโยชน์) โดยพิจารณาจากค่าที่ได้จากผลการวิเคราะห์ ตัวอย่างน้ าว่ามีค่าเท่าไหร่ และหากเทียบ
กับค่ามาตรฐานแล้วค่าที่ได้จากผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ ามีค่ามากกว่า หรือน้อยกว่าค่ามาตรฐาน หากมีค่ามากกว่าค่า
มาตรฐาน แสดงว่าคุณภาพน้ าในแม่น้ าในบริเวณจุดเก็บตัวอย่างน้ า นั้นไม่เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ตามที่ก าหนดไว้
ซึ่งจะต้องมีมาตรการในการป้องกันการปนเปื้อนของน้ าเสียใน บริเวณนั้นๆ หรือมีการฟื้นฟูคุณภาพน้ าในแหล่งน้ านั้นๆ