Page 72 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 72
69
เทคนิคความส าเร็จ
การน าประเด็นทางสิ่งแวดล้อม และ ข้อดีของกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มาสร้างความโดด
เด่นให้กับผลิตภัณฑ์ตัว G และท าให้เป็นจุดขายของสินค้าเมื่อประชาชนผู้บริโภคใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเท่ากับช่วยรักษา
สิ่งแวดล้อม
การบูรณาการการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการตลาด ผลิตภัณฑ์ที่มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมซึ่ง
ได้รับตรารับรองผลิตภัณฑ์ G จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
2.7 การส่งเสริมการใช้พลังงานน้ าอย่างมีประสิทธิภาพ
ชื่อเรื่อง (องค์ความรู้) การตรวจวัดคุณภาพน้ าเพื่อจัดท ารายงานสถานการณ์คุณภาพน้ า
ผู้เขียน/ผู้จัดท า
นางสาวอัญชลี แท่นนิล นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช านาญการ
สังกัด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม
สาระส าคัญ
การเก็บตัวอย่างน้ า เป็นกิจกรรมที่เป็นองค์ประกอบหนึ่งของการติดตามตรวจสอบและการจัดการคุณภาพน้ า
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แสดงถึงสถานภาพแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม และสถานการณ์มลพิษของแหล่งน้ า ซึ่ง
เมืองต่าง ๆ จะต้องมีการด าเนินงานจัดท ารายงานสถานการณ์ของพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวังและดูแลรักษาคุณภาพน้ าของ
แหล่งน้ าในพื้นที่ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้
วัตถุประสงค์
เพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ าของแหล่งน้ าในพื้นที่
ขั้นตอน/กระบวนการท างาน
การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ าเพื่อจัดท ารายงานสถานการณ์คุณภาพน้ า ซึ่งการศึกษานั้นจะต้องมีการศึกษาว่าน้ าที่จะ
ด าเนินการตรวจวัดเป็นน้ าจากแหล่งน้ าอะไร เพราะการตรวจสอบคุณภาพน้ าจะต้องน าผลการตรวจวัดไปเปรียบเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐานของน้ าแต่ละประเภท ซึ่งผู้ที่ด าเนินงานจึงจ าเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องดังต่อไปนี้
1. แหล่งน้ า
แหล่งน้ าผิวดิน หมายถึง แม่น้ า ล าคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ า และแหล่งน้ าสาธารณะอื่น ๆ ที่อยู่
ภายในพื้นดิน ซึ่งหมายความรวมถึง แหล่งน้ าสาธารณะที่อยู่ในพื้นดินบนเกาะด้วย แต่ไม่รวมถึงน้ าบาดาล และในกรณีที่
แหล่งน้ านั้นอยู่ติดทะเล ให้หมายถึง แหล่งน้ าที่อยู่ภายในปากแม่น้ าหรือปากทะเลสาบด้วย
2. วิธีการเก็บตัวอย่างน้ า และการก าหนดพารามิเตอร์ในการตรวจสอบคุณภาพน้ า
วิธีการเก็บตัวอย่างน้ า มี 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1 การเก็บตัวอย่างแบบจ้วง (Grab sampling) เป็นการเก็บตัวอย่างครั้งเดียวที่จุดเดียวในเวลาใดเวลาหนึ่ง