Page 3 - ชุดการสอนประวัติศาสตร์ม.1
P. 3

2. ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งเป็นภาคต่าง ๆ ดังนี

                           ภาคเหนือ เป็นทิวเขาสลับที่ราบหุบเขา ที่มีลําน ําไหลผ่าน

                           ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นที่ราบสูง

                           ภาคกลางรวมทั้งภาคตะวันตกและภาคตะวันออก ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มแม่น ํา ภาค ตะวันตกเป็น

               ทิวเขาสลับที่ราบหุบเขา ภาคตะวันออกเป็นทิวเขาและมีบางส่วนเป็นที่ราบลุ่มแม่น ํา และที่ราบชายฝั่งทะเล

                           ภาคใต้ เป็นทิวเขามีที่ราบชายฝั่งทะเลทั งสองด้านของคาบสมุทร


                       ลักษณะภูมิประเทศที่มีกลุ่มชนเข้าไปตั งถิ่นฐานกันมาก ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น ํา ที่ราบหุบเขา ที่มีแม่น ํา

               ไหลผ่าน ที่ราบชายฝั่งทะเลใกล้แหล่งน ําจืด เพราะเหมาะแก่การเพาะปลูก เลี ยงสัตว์ และ ได้อาศัยแหล่งน ํา

               สําหรับทําการประมงและใช้เป็นเส้นทางคมนาคม ตัวอย่างบริเวณที่มีชุมชน หนาแน่น เช่น แอ่งเชียงใหม่ -

               ลําพูนในลุ่มน ําปิงตอนบนของภาคเหนือ แอ่งโคราชในลุ่มน ําชี และลุ่มน ํามูล แอ่งสกลนครในลุ่มน ําสงคราม

               และริมแม่น ําโขงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทราบลุ่ม แม่น ําเจ้าพระยาของภาคกลาง ที่ราบลุ่มแม่น ําตาปี

               และที่ราบลุ่มทะเลสาบสงขลาของภาคใต้



                       3.  ภูมิอากาศ อยู่ในเขตอิทธิพลของมรสุม 2  ชนิด ได้แก่ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดมาจาก

               มหาสมุทรอินเดียตั งแต่ราวกลางเดือนพฤษภาคมถึงปลายเดือนกันยายน นําความขื น จากมหาสมุทรเข้ามา ทํา

               ให้มีฝนตกเป็นประจําทุกปี และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดมาจาก ประเทศมองโกเลียและจีนตั งแต่ราว

               กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ นําความหนาวเย็น และความแห้งแล้งเข้ามา ลักษณะภูมิอากาศ

               แบบนี ส่งผลให้การเพาะปลูกได้ผลดี นอกจากนี ลมมรสุม ทั งสองชนิดยังมีอิทธิพลต่อการเดินเรือที่ดินแดนไทย

               เป็นจุดแลกเปลี่ยนสินค้า โดยลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้จะพาพ่อค้าจากทางด้านอินเดียเข้ามา และพาพ่อค้า

               จากทางด้านจีนกลับไป เมื่อถึงหน้ามรสุมตะวันออกเฉียงเหนือก็จะมีผลในทางตรงข้าม คือ ลมมรสุมจะพา

               พ่อค้าทางด้าน อินเดียกลับไป และพาพ่อค้าทางด้านจีนกลับมา


                       4.  ทรัพยากรธรรมชาติ ดินแดนประเทศไทยเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่เอื อต่อการ ตั งถิ่นฐาน

               และการดํารงชีวิตของมนุษย์ เช่น มีดินดี มีแหล่งน ําสมบูรณ์ มีป่าไม้ มีแร่นานาชนิด แร่ที่มนุษย์ในดินแดน

               ประเทศไทยรู้จักนํามาใช้ประโยชน์ตั งแต่ยุคโลหะ ได้แก่ ทองแดง ดีบุก เหล็ก


               1.2 ปัจจัยทางสังคม



                       เมื่อมนุษย์ตั งถิ่นฐานถาวรตั งแต่ยุคหินใหม่เป็นต้นมา โครงสร้างทางสังคมของมนุษย์ก็มีความ ซับซ้อน

               ยิ่งขึ น เช่น มีการตั งหัวหน้าปกครองชุมชน มีการกําหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ มีการแบ่งงาน กันทําตาม

               ความสามารถ มีการค้าขายแลกเปลี่ยนผลผลิตที่มีเกินความต้องการทั งในชุมชนและ ต่างชมชน มีการแบ่งชน
   1   2   3   4   5   6   7   8