Page 4 - ชุดการสอนประวัติศาสตร์ม.1
P. 4
ชั นทางสังคม มีการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและรับวัฒนธรรมต่างถิ่น เข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมของตน
2) การศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
การศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย เริ่มต้นในสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎ
เกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เป็นการศึกษาอย่างผิวเผินของชาวต่างประเทศ ได้แก่ เรื่องการพบ ภาพเขียนสีที่เกาะเขียน
จังหวัดกระบี่ และที่เขาแหลม จังหวัดพังงา ต่อมาจึงมีการดําเนินการศึกษา ด้วยการสํารวจขุดค้นโดยนัก
โบราณคดีชาวต่างประเทศตั งแต่ประมาณ พ.ศ. 2473 เป็นต้นมา จนถึง พ.ศ. 2503 จึงเกิดการดําเนินการทาง
โบราณคดีอย่างเป็นระบบเป็นครั งแรกในประเทศไทย จากการร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลเดนมาร์ก
หลังจากนั นมีการศึกษาต่อเนื่องโดย นักโบราณคดีทั งชาวไทยและชาวต่างประเทศมาจนถึงปัจจุบัน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยเริ่มเมื่อประมาณ 500,000 ปีมาแล้ว จนถึงประมาณ 1,500 ปี
มาแล้ว โดยแบ่งเป็นยุคต่าง ๆ ดังนี
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย
ยุค ยุคย่อย ช่วงเวลาที่นับย้อน เครื่องมือเครื่องใช้ สภาพความเป็นอยู่
ไปจากปัจจุบัน
ยุคหิน ยุคหินเก่า 500,000-10,000 ปี เครื่องมือหินกะเทาะ ล่าสัตว์ อพยพตามฝูงสัตว์
อย่างหยาบ รู้จักใช้ไฟ
ยุคหินกลาง 10,000-6,000 ปี เครื่องมือหินกะเทาะ ยังคงล่าสัตว์และอพยพตาม
แบบฮัวบิเนียน ฝูงสัตว์ มีพิธีฝังศพ
ยุคหินใหม่ 6,000-4,000 ปี เครื่องมือหินขัด ตั งถิ่นฐานเป็นชุมชนเกษตรกรรม
รู้จักทําเครื่องปั้นดินเผา มีระบบการปกครอง รู้จักแบ่ง
เครื่องจักสาน ทอผ้า งานกันทํา มีพิธีฝังศพ มีการ
ติดต่อกับชุมชนอื่น
ยุคโลหะ ยุคสําริด 4,000-2,500 ปี รู้จักถลุงแร่และทําเครื่องมือ เป็นสังคมเกษตรกรรม ชุมชน
เครื่องใช้จากสําริด พัฒนา ขยายใหญ่ขึ น
เทคนิคการทอผ้า และการ
ทําเครื่องปั้นดินเผา
ยุคเหล็ก 2,500-1,500 ปี รู้จักถลุงเหล็ก และทํา สังคมมีความซับซ้อนยิ่งขึ น
เครื่องมือเครื่องใช้จากเหล็ก กลายเป็นเมือง