Page 5 - ชุดการสอนประวัติศาสตร์ม.1
P. 5
3) ยุคหินในดินแดนไทย
3.1 ยุคหินเก่า 500,000 -10,000 ปีมาแล้ว
หลักฐานยุคหินเก่าที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยที่มีการค้นพบ ได้แก่ เครื่องมือหินกะเทาะ พบที่บ้าน
แม่ทะ บ้านดอนมูล และเขาป่าหนาม จังหวัดลําปาง เครื่องมือหินกะเทาะทั งสามแห่งนี พบอยู่ใต้ชั น
หินบะซอลต์ซึ่งเป็นการทับถมของลาวา ภูเขาไฟ อายุราว 500,000 ปี
มาแล้ว เป็นเครื่องมือ ของมนุษย์โบราณพวก โฮโมอีเรกตัส (Homo
erectus) หลังจากนั นได้ขุดพบฟันของมนุษย์ที่ถ ําวิมานนาคินทร์
อําเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ กําหนดอายุได้ราว 180,000 ปีมาแล้ว
มีลักษณะเหมือนฟันของ โฮโมอีเรกตัส ซึ่งขุดค้นพบพบที่เกาะชวา
เครื่องมือหินกะเทาะยุคหินเก่า
โฮโมอีเรกตัส (Homo erectus) หรือมนุษย์
เรื่องน่ารู้ พบที่บ้านแม่ทะ จังหวัดล าปาง
เดินตัวตรง เป็นมนุษย์โบราณที่เก่าแก่ที่สุด
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออก ประเทศอินโดนีเซีย และที่ถ ําโจวโข่วเตี ยน ใกล้
มนุษย์เดินตัวตรงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกว่า กรุงเป่ย์จิง ประเทศจีน ต่อมาใน พ.ศ.2544 ได้
มนุษย์ชวา พบหลักฐานว่ามีชีวิตอยู่บนเกาะชวาประเทศ พบชิ นส่วนกะโหลกของพวกโฮโมอีเรกตัส ซึ่งมี
อินโดนีเซียราว 1.8 ล้านปี ถึง 5 แสนปีมาแล้ว ส่วนมนุษย์เดิน อายุราว 500,000 ปีมาแล้ว ที่อําเภอเกาะคา
ตัวตรงในเอเชียตะวันออกเรียกว่า มนุษย์ปักกิ่ง พบร่องรอยที่ จังหวัดลําปาง เครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ยุค
บริเวณที่ถ ําโจวโข่วเตี ยน ในประเทศจีน อายุราว 5 แสนปี หินเก่าในดินแดนไทยส่วนใหญ่จะทําจากหินกรวด
มาแล้ว มนุษย์เดินตัวตรงเหล่านี ต่อมาได้มีวิวัฒนาการเป็น แม่น ําที่เก็บได้ตามริมฝั่งแม่น ํา เอามากะเทาะเป็น
มนุษย์ปัจจุบัน (Homo Sapiens) ตั งแต่ 1 แสนปีที่แล้วมา เครื่องมือรูปร่างต่าง ๆ แล้วนําไปใช้งาน เช่น ตัด
โค่นต้นไม้ ปอกเปลือกไม้ ผ่าไม้ กะเทาะหรือทุบ
เปลือกหอย ลูกไม้เปลือกแข็ง หรือกระดูกสัตว์ แล่หนังสัตว์ หันเนื อสัตว์ นอกจากนี อาจใช้เครื่องมือหินในการ
ทําไม้เป็นอาวุธหรือเครื่องมือสําหรับล่าสัตว์ด้วย
มนุษย์ในยุคนี ดํารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์และเก็บอาหาร ที่หาได้ตามธรรมชาติ รู้จักการใช้ไฟ ลักษณะ
สังคมเป็นแบบ สังคมล่าสัตว์หรือสังคมนายพราน เร่ร่อนไปตามฝูงสัตว์ ไม่มีถิ่นฐานแน่นอน มักพบหลักฐานว่า
อยู่อาศัยตามถ ํา เพิงผา และที่ราบริมแม่น ํา
โฮโมอีเรกตัสกับมนุษย์ปัจจุบัน