Page 31 - ชุดการสอนประวัติศาสตร์ม.1
P. 31
กู่ค าหลวง วัดเจดีย์เหลี่ยม เวียงกุมกาม จังหวัดเชียงใหม่ สร้างสมัยพระยามังราย
4.2 กษัตริย์ราชวงศ์มังราย
อาณาจักรล้านนามีกษัตริย์ราชวงศ์มังรายปกครองสืบต่อมาอีก 19 องค์ ก่อนที่จะตกไป เป็นประเทศ
ราชของพม่าใน พ.ศ. 2101 ระหว่างที่เป็นเอกราชนี มีกษัตริย์ซึ่งทรงมีพระกรณียกิจ ที่สําคัญอีกหลายองค์ จะ
นํามากล่าวเพียง 2 องค์ คือ พระเจ้ากือนาและพระเจ้าติโลกราช
กษัตริย์องค์ที่ 6 ของอาณาจักรล้านนา (พ.ศ. 1898-1928)
พระราชกรณียกิจที่สําคัญคือ การรับพระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์จาก
อาณาจักรสุโขทัย เข้ามาเผยแผ่ โดยอาราธนาพระสุมนเถระจากสุโขทัย
พระเจ้ากือนา ใน พ.ศ. 1912 ต่อมาทรง สร้างวัดบุปผาราม (วัดสวนดอก) ขึ นใน
พ.ศ. 1914 ให้เป็นที่จําพรรษาของพระสุมนเถระ ทั งเป็นสํานักเรียนและ
ศูนย์กลางของคณะสงฆ์แบบลังกาวงศ์ และทรงสร้างพระเจดีย์บรรจุ
พระบรมสารีริกธาตุบนดอยสุเทพเมื่อ พ.ศ. 1916
กษัตริย์องค์ที่ 9 ของอาณาจักรล้านนา (พ.ศ. 1984-2030)
เป็นกษัตริย์ที่ทรงเดชานุภาพมากที่สุดของล้านนา ทรงสร้างความมั่นคงและ
ขยาย อาณาเขตล้านนาออกไปอย่างกว้างขวาง ในสมัยของพระองค์ล้านนา
ทําสงคราม ต่อเนื่องกับอยุธยาตั งแต่ พ.ศ. 2003 ถึง พ.ศ. 2017
พระเจ้าติโลกราช พระเจ้าติโลกราชทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองเป็น
อย่างมาก ทรงสร้างวัดหลายวัด เช่น วัดป่าแดง วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ด
ยอด) ทรงส่งเสริมการศึกษาทางศาสนา เช่น จัดสังคายนาพระไตรปิฎก ทั ง
ยังอัญเชิญ พระแก้วมรกตจากลําปางมาประดิษฐานไว้ที่เมืองเชียงใหม่ด้วย
4.3 ความเจริญรุ่งเรืองสมัยราชวงศ์มังราย
. ในสมัยราชวงศ์มังราย (พ.ศ. 1839-2101) อาณาจักรล้านนามีความเจริญรุ่งเรืองด้าน ต่าง ๆ สรุป ได้ดังนี
1. เศรษฐกิจ เศรษฐกิจของล้านนาขึ นอยู่กับการเกษตรและการค้า ในด้านการเกษตรมี ภูมิปัญญา
หลายอย่างที่ล้านนานํามาใช้ตั งแต่สมัยพระยามังราย เช่น การสร้างเหมืองฝายขนาดเล็ก โดยใช้ท่อนไม้วาง
ขวางลําน ําให้ระดับน ําสูงขึ น แล้วระบายน ําไปตามคูน ําส่งน ําไปยังไร่นา การใช้ กังหันน ําวิดน ําจากแม่น ําเพื่อใช้
เพาะปลูก การทํานาขั นบันไดตามเชิงเขาช่วยป้องกันการพังทลาย ของดิน การใช้เกวียนขนพืชผลเพื่อช่วยผ่อน
แรง การระดมแรงงานมาช่วยกันเพาะปลูกหรือเก็บเกี่ยว โดยไม่คิดค่าจ้างหมุนเวียนกันไป เพื่อแก้ปัญหาคนใน
ครัวเรือนไม่พอกับปริมาณงานและเวลา