Page 29 - ชุดการสอนประวัติศาสตร์ม.1
P. 29
เมื่อรวบรวมเมืองทางตอนบนในลุ่มน ํากกได้เรียบร้อยแล้ว พระยามังรายก็ขยายอํานาจ ลงมาทางใต้สู่
ลุ่มน ําปิงตอนบน ทรงใช้อุบาย ส่งคนไปเป็นไส้ศึกในแคว้นหริภุญชัยนานถึง 7 ปี คนของพระยามังรายยุยงชาว
หริภุญชัย ให้กระด้างกระเดื่องต่อพระยาญีบากษัตริย์ แห่งหริภุญชัยได้สําเร็จ พระยามังรายจึงยึด เมืองหริภุญ
ชัยได้โดยง่ายเมื่อ พ.ศ. 1835 ต่อจากนั นพระองค์ได้สร้างเวียงกุมกาม (อยู่ในอําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่)
เมื่อ พ.ศ. 1837
ต่อมาพระยามังรายทรงเห็นว่าพื นที่ใน ระหว่างที่ราบลุ่มน ําปิงกับดอยสุเทพมีชัยภูมิ เหมาะสมจึงทรง
สร้างราชธานีใหม่ขึ น ณ ที่นั น ขนานนามว่า นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ หรือเชียงใหม่ ถือว่าการสร้างราชธานี
แห่งนี เป็นจุดเริ่มต้นอาณาจักรล้านนา และพระยามังรายทรงเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ มังรายแห่งล้านนา
อนุสาวรีย์พระยามังราย อ าเภอเมียงเชียงราย จังหวัดเชียงราย
พระยามังรายแห่งล้านนา พระยางําเมืองแห่งพะเยา และ
พ่อขุนราม คําแหงมหาราชแห่ง สุโขทัยเป็นศิษย์ร่วมสํานักเรียน
เดียวกันที่เมืองละโว้ และเป็นพระสหายร่วมสาบานกัน เมื่อจะ
สร้างเมืองเชียงใหม่ พระยามังรายได้เชิญพระสหาย ทั งสอง
พระองค์มาปรึกษาหารือด้วย การที่กษัตริย์ ชาวไทย 3 พระองค์มี
ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน เช่นนี ทําให้รัฐของคนไทยมีความมั่นคง
สามารถ ขยายอาณาเขตออกไปได้ เพราะไม่ต้องห่วงหน้า พะวง
หลัง และป้องกันการรุกรานของจีน สมัยราชวงศ์หยวนที่
พระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์ (พระยาง าเมือง
กําลังขยายอํานาจลงมาในภูมิภาคนี พระยามังรายและพ่อขุนรามค าแหงมหาราช)
หน้าศูนย์ศิลปะวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม่
พระยามังรายทรงควบคุมเมืองต่าง ๆ ให้ เรื่องน่ารู้ อยู่ใน แสดงเหตุการณ์ตอนที่สามกษัตริย์ปรึกษา
อํานาจได้อย่างสมบูรณ์ อาณาเขตล้านนา ในสมัยพระยามังราย กัน เรื่องการสร้างเมืองเชียงใหม่