Page 25 - ชุดการสอนประวัติศาสตร์ม.1
P. 25

แผ่ที่หริภุญชัย จากหลักฐานทางด้านโบราณคดีที่พบในเมืองโบราณ แสดงว่า ชาวเมืองนับถือพระพุทธศาสนา

               นิกายเถรวาทเป็นหลัก แต่ก็มีการ นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน

               ด้วย


                       อิทธิพลศิลปะทวารวดีจากลุ่มน ําเจ้าพระยาได้แผ่เข้า มาด้วย

               ในช่วงเดียวกันนี  โดยมีอิทธิพลศิลปะมอญเข้ามา ผสมผสานด้วย

               สถาปัตยกรรมสําคัญสมัยหริภุญชัย ได้แก่ เจดีย์คู่กุด สร้างโดยเจ้า

               อนันตยส พระราชโอรสของพระนาง จามเทวีเพื่อบรรจุพระอัฐิของพระ

               ราชมารดาของพระองค์ และพระบรมธาตุหริภุญชัยสร้างประมาณ พ.ศ.

               1700 ใน สมัยพระเจ้าอาทิตยราช กษัตริย์องค์ที่ 32 เพื่อประดิษฐาน พระ

               บรมสารีริกธาตุที่ได้รับมาแต่ครั งพระเจ้าอโศกมหาราช ส่งสมณทูตมา เผย
                                                                               เจดีย์ภูกุด วัดจามเทวี อ าเภอเมือง
               แผ่พระพุทธศาสนาด้านประติมากรรม ได้พบชิ นส่วนพระพุทธรูป พระพิมพ์
                                                                               ล าพูน จังหวัดล าพูน ตามต านาน



               ดินเผา กวางหมอบ และพบภาชนะ ดินเผามีลายขิด ซึ่งเป็นลักษณะเด่น    กล่าวว่าสร้างเมื่อ พ.ศ. 1298

                                                                               ต่อมายอดเจดีย์หักหายไปจึงเรียก

               ของศิลปะ หริภุญชัย                                              ว่าเจดีย์กู่กุด
                       สําหรับจารึกสมัยหริภุญชัย ได้สํารวจพบศิลาจารึก 7 หลัก ภาษา ที่ใช้เป็นภาษามอญโบราณ ผสมกับ

               ภาษาบาลี

                       หริภุญชัยมีความสัมพันธ์อันดีกับเมืองโบราณต่าง ๆ ที่ตั งอยู่ในบริเวณลุ่มน ําเจ้าพระยา โดยเฉพาะ
               อย่างยิ่งเมืองลพบุรี แต่ต่อมาตั งแต่ช่วงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 15 ได้เกิดสงคราม ระหว่างหริภุญชัยกับ


               ลพบุรีหลายครั ง อันแสดงถึงความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนไป
                       หริภุญชัยยังมีความสัมพันธ์กับชุมชนมอญในอาณาจักรพม่าอย่างแน่นแฟ้น จากชินกาล มาลีปกรณ์ ได้


               กล่าวถึงการเกิดโรคระบาดในเมืองหริภุญชัยในสมัยพระเจ้ากัมพล ชาวเมืองหริภุญชัย ต้องอพยพไปอยู่เมืองสุ
               ธรรมนคร (สะเทิม) และเมืองหงสาวดีของมอญเป็นเวลาถึง 6 ปี


                       ราชวงศ์จามเทวีปกครองแคว้นหริภุญชัยสืบมาหลายร้อยปี จนถึงสมัยพระยาญี่บาก็ถูก พระยามังราย
               แห่งแคว้นเงินยางยกกองทัพมาตีเมืองลําพูนได้ใน พ.ศ. 1835 แคว้นหริภุญชัยจึงหมดอํานาจลง




                   บทสรุป

                           ก่อนที่จะมีการตั งรัฐไทยในดินแดนไทย ดินแดนในบริเวณนี เคยเป็นที่ตั งของรัฐโบราณหลายรัฐ เช่น

               แคว้นตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช), อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรทวารวดี แคว้นละไว้ (ลพบุรี) แคว้นหริภุญ

               ชัย รัฐเหล่านี มีความเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาต่าง ๆ และได้ทิ งหลักฐาน ไว้ให้ศึกษาจนถึงปัจจุบัน
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30