Page 102 - การวิจัยทางการศึกษา
P. 102
101
ช่วยในการตัดสินใจในการด าเนินงาน และช่วยในการพัฒนางานในองค์กรให้มี
ความก้าวหน้าต่อไป การน าเสนองานเชิงวิชาการมีได้ทั้งรูปแบบการน าเสนอด้วยวาจา เช่น
น าเสนอโดยการบรรยาย ในการอภิปราย ในการประชุม สัมมนา เป็นต้น และการน าเสนอ
โดยการเขียนเป็นเอกสารเชิงวิชาการเช่น ต ารา รายงานการวิจัย บทความ เป็นต้น ในที่นี้
ขอกล่าวถึงการน าเสนอโดยใช้วาจาดังนี้
ขั้นตอนกำรน ำเสนอ (ประวีณ ณ นคร, 2550; รุธ ประวัง, 2549; Bailey & Denstaedt,
2004)
ไม่ว่าจะเป็นงานวิชาการลักษณะใดก็ตาม เพื่อให้การน าเสนองานบรรลุผลส าเร็จ
ราบรื่น ควรต้องมีการเตรียมการก่อนการน าเสนอ ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดข้อผิดพลาด และ
ป้องกันข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้น อีกทั้งยังสามารถน าเสนอได้เหมาะสมตามระยะเวลาที่
ก าหนด น่าสนใจ น่าเชื่อถือ และน่าฟัง ซึ่งขั้นตอนในการเตรียมการและน าเสนอมีดังนี้
1. การศึกษาข้อมูล เนื่องจากในการน าเสนอจะต้องมีการอธิบายหรือชี้แจง
เกี่ยวกับเรื่องนั้น ผู้น าเสนอจึงควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนั้นให้ลึกซึ้งก่อน เพื่อการ
วางแผนวิธีการน าเสนอ วางแนวทางการแก้ปัญหาอุปสรรค เพื่อให้เกิดการน าเสนอที่มี
ประสิทธิภาพ สิ่งที่จะต้องศึกษาก่อนการน าเสนอ ได้แก่
• เรื่องที่จะน าเสนอ ได้แก่เรื่องอะไร มีจุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ในการน าเสนอ
ว่าอย่างไร มีความเป็นมาอย่างไร มีประเด็นส าคัญ/สาระอะไรบ้าง มีข้อเสนอแนะว่าอย่างไร
เป็นต้น
• ผู้รับฟัง การศึกษาข้อมูลของผู้รับฟังการน าเสนอ จะเป็นผลดีต่อการวางกลวิธี
ในการน าเสนอให้เหมาะสมกับผู้รับฟัง อันจะท าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการรับฟัง ซึ่ง
ข้อมูลผู้รับฟังที่ควรศึกษาได้แก่ จ านวนผู้ฟัง คุณวุฒิ ความรู้หรือระดับการศึกษา อาชีพ
ต าแหน่งหน้าที่การงาน ประสบการณ์ วัย เพศ เชื้อชาติ ศาสนา เป็นต้น เช่นหากผู้รับฟัง
เป็นนักวิชาการสามารถใช้ภาษาวิชาการหรือศัพท์เทคนิค ผู้รับฟังเป็นคนทั่วไปควรใช้ภาษา
หรือค าพูดง่ายๆที่ผู้รับฟังเข้าใจ
• สถานที่ที่จะน าเสนอ การศึกษาเกี่ยวกับสถานที่ที่จะน าเสนอมีความส าคัญอย่าง
มากต่อความส าเร็จของการน าเสนอ เนื่องจากลักษณะของสถานที่มีผลต่อการน าเสนอเช่น