Page 223 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 223
ส่วนที่ ๓ หน้า ๒๑๑
ื
๔. เกี่ยวกับปัญหาพชผลทางการเกษตรตกต่ า หรือการจัดการในเรื่องนี้ สภาผู้แทนราษฎร
ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นมาพิจารณาศึกษาเรื่องนี้โดยเร่งด่วนแล้ว ซึ่งคาดว่าจะมีแนวทาง
ที่ชัดเจนเสนอต่อรัฐบาลโดยเร็วนี้
ื้
๒. ศึกษาดูงานในพนที่จริงที่เกิดปัญหาด้านที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์กรณีพื้นที่อยู่อาศัย
ุ
้
์
ื้
ที่ดินท ากินทับซ้อนหรืออยู่ในเขตพนที่อนรักษ ณ บ้านแม่กลองนอย บ้านแม่กลองใหญ่ เขตติดต่อ
ื้
อ าเภอพบพระ และอ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก ลงพนที่ศึกษาดูงานทั้ง ๒ หมู่บ้าน (บ้านแม่กลองนอย
้
บ้านแม่กลองใหญ่) ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๒ โดยมีนายอ าเภออุ้มผาง และหัวหน้าเขตอนุรักษ์
ั
ั
ื้
พนธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง พร้อมหัวหน้าส่วนราชการในพนที่มาให้การต้อนรับ และร่วมรับฟงปัญหาจากตัวแทน
กลุ่มชาติพันธุ์ข้างต้น ข้างต้น สรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
๑. สถานบริการสาธารณสุขชุมชนร่มเกล้า ๕ ต าบลโมโกร อ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก
้
้
พบว่า สถานที่แห่งนี้ยังไม่มีไฟฟาที่เป็นระบบไฟฟาหลักใช้ ปัจจุบันใช้
้
ไฟฟาจากระบบพลังงานส ารอง (กังหันน้ า) ซึ่งจะมีปัญหาในช่วงฤดู
แล้งที่ไม่มีน้ าพดกังหันปั่นไฟฟา ส่วนระบบโซลาเซลก็มีไม่เพยงพอ
ั
ี
้
ื้
เนื่องจากเป็นพนที่สูงจะมีหมอกมาปกคลุมเกือบทั้งปี และที่ส าคัญ
บริเวณหมู่บ้านแม่กลองน้อย บ้านแม่กลองใหญ่ และบริเวณสถาน
บริการไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ท าให้การติดต่อสื่อสารค่อนข้างล าบาก
เนื่องจากต้องขับรถออกไปยังสถานที่ที่มีคลื่นสัญญาณโทรศัพท์ที่อยู่
้
ห่างไกล เวลาส่งต่อผู้ป่วยหรือเหตุฉุกเฉินจะล าบากมาก และช่วงไฟฟามีน้อยคือช่วงฤดูหนาวและฤดูแล้ง
้
จ าเป็นต้องใช้ไฟฟามากเพอเก็บวัคซีนแต่ก็มีไม่เพยงพอ มีเสาไฟฟาของการไฟฟาส่วนภูมิภาคผ่านพนที่
ื้
ี
้
ื่
้
ื้
้
แต่ไม่สามารถน าไฟฟาเข้าพนที่ได้เพราะติดเงื่อนไขอยู่ในพนที่เขตอนุรักษ์ต้องขออนุญาตตาม
ื้
พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ ก่อน ซึ่งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคไม่ได้ท าการขออนุญาตต่อกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประชาชน จึงไม่สามารถเข้าถึงไฟฟ้าระบบหลักได้
๒. โรงเรียนบ้านแม่กลองน้อย อ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก บ้านแม่กลองน้อยมี ๑๗๐ ครัวเรือน
มีสถานบริการสาธารณสุขชุมชนร่มเกล้า ๕ ให้การดูแลในเรื่องสาธารณสุข ทั้งโรงเรียน หมู่บ้าน และสถานบริการ
้
สาธารณสุข ไม่มีไฟฟาใช้ ใช้เพยงระบบไฟฟาส ารองซึ่งไม่เพยงพอต่อการใช้งานและการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ
ี
ี
้
ื้
โดยเฉพาะในเด็กนักเรียน นอกจากนี้ถนนในพนที่ประชาชนต้อง
ด าเนินการเองเพราะรัฐไม่สามารถด าเนินการใด ๆ ได้เพราะอยู่ใน
ื้
เขตพนที่อนุรักษ์ต้องท าการขออนุญาตสร้างถนนและสาธารณูปโภค
จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก่อน ซึ่งต้องเข้า
เงื่อนไขเพอการอนุรักษ์หลักการเดียวกันกับสถานบริการสาธารณสุข
ื่
ชุมชนร่มเกล้า ๕ ข้างต้น
ื้
นอกจากนี้ตัวแทนกลุ่มชาติพนธุ์ในพนที่ได้ให้ข้อมูลว่า หมู่บ้านแห่งนี้อยู่มา ๙๓ ปีแล้ว
ั
จากหลักฐานจากกรมสรรพากร (ต่อมาสรรพากรยกเลิกการออกเอกสารกับเก็บภาษี) เมื่อรัฐออกกฎหมาย
ื้
ก าหนดพนที่อนุรักษ์จึงไม่ควรเป็นภาระแก่ประชาชน การมีกฎหมายขึ้นมาจัดการในเรื่องนี้เป็นสิ่งที่ดี
้
แต่กระบวนการจัดการตามกฎหมายไม่ดี สายไฟฟาผ่านหน้าบ้านแต่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ (ไฟฟาผ่าน
้
หมู่บ้านตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๐)