Page 221 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 221
ส่วนที่ ๓ หน้า ๒๐๙
การศึกษาดูงานกลุ่มชาติพันธุ์
ระหว่างวันพุธที่ ๒๕ กันยายน – วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๒
ณ จังหวัดตาก
ั
ิ
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มี
ความหลากหลายทางเพศ ได้ให้ความส าคัญต่อการส่งเสริม พฒนา คุ้มครอง และปกป้องสิทธิของ
ั
กลุ่มชาติพันธุ์ เพื่อน าข้อมูลประกอบการจัดท าร่างกฎหมายที่มีสาระเป็นการส่งเสริมและคุ้มครองกลุ่มชาติพันธุ์
ั
ื้
ื่
ในประเทศไทย จึงลงพนที่ไปศึกษาดูงานเพอรับฟงปัญหา ทบทวนและรวบรวมข้อมูลอันจะเป็นประโยชน์
ั
ต่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่และอ านาจตามที่สภาผู้แทนราษฎรมอบหมาย ๒ พนที่รับฟงปัญหาและพบปะ
ื้
ื้
ั
ตัวแทนกลุ่มชาติพนธุ์ในพนที่ จ านวน ๕ ชนเผ่า (ม้ง ปกาเกอะญอ ลีซอ
เมี่ยน อาข่า) ณ องค์การบริหารส่วนต าบลคีรีราษฎร์ อ าเภอพบพระ
จังหวัดตาก และศึกษาดูงานในพนที่ปัญหาด้านที่อยู่อาศัยของกลุ่ม
ื้
ั
ื้
ื้
ชาติพนธุ์กรณีพนที่อยู่อาศัย ที่ดินท ากินทับซ้อนหรืออยู่ในเขตพนที่
อนุรักษ์ ณ บ้านแม่กลองน้อย บ้านแม่กลองใหญ่ เขตติดต่ออ าเภอพบ
พระและอ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก ลงพื้นที่ศึกษาดูงานทั้ง ๒ หมู่บ้าน
(บ้านแม่กลองน้อย บ้านแม่กลองใหญ่)
๑. การรับฟังปัญหากลุ่มชาติพันธุ์ในพนที่ จ านวน ๕ ชนเผ่า (ม้ง ปกาเกอะญอ ลีซอ เมี่ยน
ื้
อาข่า) ณ องค์การบริหารส่วนต าบลคีรีราษฎร์ อ าเภอพบพระ จังหวัดตาก ในวันพุธที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๓
ื้
ั
โดยแกนน ากลุ่มชาติพนธุ์ในพนที่ได้สลับกันขึ้นมาน าเสนอประเด็นปัญหาให้คณะกรรมาธิการได้รับทราบ
โดยมีนายชุติเดช มีจันทร์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตาก พร้อมหัวหน้าส่วนราชการในพื้นที่มาให้การต้อนรับ
และร่วมรับฟังปัญหาจากตัวแทนกลุ่มชาติพันธุ์ข้างต้น สรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
๑. ที่ดินท ากินไม่มีเอกสารสิทธิ์ในเขตพนที่ต าบลรวมไทย และต าบลคีรีราษฎร์ อ าเภอพบพระ
ื้
ื้
จังหวัดตาก ซึ่งอยู่ในเขตกองทัพภาคที่ ๓ เช่าพนที่จากกรมป่าไม้ เป็นระยะเวลา ๓๐ ปี ส าหรับประชาชน
ที่ย้ายออกมาจากพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (ทุ่งใหญ่นเรศวร) เพื่อกันให้เป็นมรดกโลก แต่ประชาชนไม่มีเอกสารสิทธิ
ื
จึงไม่สามารถน าไปขออนุญาตปลูกพชบางชนิดได้ เช่น กันชง จึงต้องการเอกสารสิทธิ (ไม่ใช่แปลงรวม
ต้องการแยกเป็นรายบุคคล) เพอรับรองสิทธิท ากิน และในพนที่เหล่านี้บางส่วนก็ทับซ้อนกับพนที่ท ากิน
ื่
ื้
ื้
ของกลุ่มชาติพนธุ์มาก่อน แต่มีการประกาศเป็นพนที่ป่าไม้ (ป่าอนุรักษ์หรือป่าสงวน) ไปทั้งหมดควรที่จะ
ื้
ั
มีการแบ่งแยกให้ชัดเจน
๒. ปัญหาที่ดินท ากิน พื้นที่อยู่อาศัย เส้นทางคมนาคมเข้าพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ท ากิน คือ
ุ
ื้
ปัญหาหลักของพนที่นี้เพราะอยู่ในเขตอนุรักษ์ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พทธศักราช ๒๔๘๔ ไม่สามารถ
สร้างเส้นทางเข้าไปได้ ทั้งที่มีงบประมาณในการด าเนินการ เมื่อมีการ
ขออนุญาตจากเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายก็ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างน้อย
ื้
กว่าที่ควรจะเป็น หากมีการก่อสร้างถนนเข้าพนที่ก็จะถูกจับกุม
ด าเนินคดีทันที ซึ่งกระบวนการเหล่านี้เป็นการปิดกั้นศักยภาพของ
พื้นที่หรือของชุมชน