Page 225 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 225
ส่วนที่ ๓ หน้า ๒๑๓
ั
๓) กลุ่มชาติพนธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานในทะเล หรือ “ชาวเล” จ านวน ๓ กลุ่ม ได้แก่ มอแกน
มอแกลน และอูรักละโว๊ย
๔) กลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในป่า จ านวน ๒ กลุ่ม ได้แก่ มลาบรี (ตองเหลือง) และซาไก
ั
ั
(มันนิ) ตลอดระยะเวลากว่า ๕๐ ปีที่ผ่านมาเริ่มจากการพฒนากลุ่มชาติพนธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานบนพนที่สูง คือ
ื้
“ชนชาวเขา” ด้วยสาเหตุส าคัญคือ ความมั่นคงบริเวณพนที่ชายแดน การแก้ไขปัญหายาเสพติด ปัญหา
ื้
ิ่
การตัดไม้ท าลายป่า การท าไร่เลื่อนลอย และการลดอัตราการเพมประชากร โดยใช้ “นโยบายรวมพวก”
เป็นหลัก เพอให้ชนชาวเขาเป็นพลเมืองไทยที่ดีและสามารช่วยเหลือตนเองได้ มีการตั้ง “คณะกรรมการ
ื่
สงเคราะห์ชาวเขา” ในปี ๒๕๐๒ และต่อมาได้บรรจุเป็นแนวทางการพฒนาประเทศครั้งแรกในช่วงแผนพฒนา
ั
ั
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๒๙)
ั
ในการพฒนากลุ่มชาติพนธุ์บนพื้นที่สูง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ทรงเรียก
ั
ชนชาวเขาว่า “เป็นคนไทยแต่อยู่บนเขา” พระองค์ได้พระราชทางความช่วยเหลือในการสงเคราะห์และพฒนา
ั
ในด้านการศึกษาตั้งแต่ปี ๒๕๐๖ เป็นต้นมา และในปี ๒๕๑๒ มีพระราชด าริให้จัดตั้ง “โครงการหลวง” ขึ้น
เพื่อช่วยเหลือชนชาวเขาในด้านมนุษยธรรม แก้ไขปัญหายาเสพติด การส่งเสริมการท าการเกษตรที่ถูกต้อง
ื่
และเพอการจัดตั้งถิ่นฐานถาวรเป็นหลักแหล่งและช่วยรักษาป่า ต่อมาได้มีกิจกรรมด าเนินงานพฒนาช่วยเหลือ
ั
ชนชาวเขาและกลุ่มชาติพนธุ์อื่น ๆ ตามแนวพระราชด าริอีกหลายโครงการกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค
ั
ของประเทศถึงปัจจุบัน
ื้
ั
ั
การพฒนากลุ่มชาติพนธุ์บนพนที่สูงของรัฐ ได้มีการด าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม
ั
เมื่อคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๗ กุมภาพนธ์ ๒๕๓๒ และวันที่ ๑๑ กุมภาพนธ์ ๒๕๓๕ เรื่อง นโยบาย
ั
แก้ไขความมั่นคงของชาติเกี่ยวกับชาวเขาและการปลูกพชเสพติด มุ่งเน้นในการจัดตั้งถิ่นฐานถาวร การ
ื
ั
ั
ส ารวจสถานะบุคคล การพฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส การอนุรักษ์และพฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมีการตั้งคณะกรรมการระดับชาติขึ้นรับผิดชอบ
มีการส ารวจข้อมูลชุมชนพื้นที่สูงตามมติคณะรัฐมนตรีในปี ๒๕๓๖ จัดท าแผนแม่บทในระดับชาติและระดับ
จังหวัด และมีการด าเนินงานร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ ส่งผลให้การด าเนินงานประสบผลส าเร็จในระดับหนึ่ง
แต่จากการปฏิรูประบบราชการในปี ๒๕๔๕ โครงสร้างงานบริหารงานของหน่วยงานต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไป
ั
ขาดหน่วยงานรับผิดชอบที่ชัดเจน การพฒนากลุ่มชาติพนธุ์มีลักษณะเป็นงานประจ าปกติ ในขณะที่การแก้ไข
ั
ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ โดยรวมยังไม่หมดไปท าให้กลุ่มชาติพนธุ์รวมตัวกันเรียกร้อง
ั
เรื่องสัญชาติ การย้ายถิ่นและการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิชนพนเมือง
ื้
พ.ศ. ๒๕๕๐
จากการพฒนากลุ่มชาติพนธุ์โดยรวมในช่วง ๕ ทศวรรษที่ผ่านมา จนก้าวเข้าสู่ยุค
ั
ั
โลกาภิวัฒน์ ถึงปัจจุบัน แม้ว่าจะส่งผลให้ความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มชาติพนธุ์ดีขึ้น
ั
แต่การเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครองและสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการบริหารจัดการ
ที่หลากหลายขาดความชัดเจน ปัญหาต่าง ๆ ของกลุ่มชาติพนธุ์จึงยังคงอยู่โดยเฉพาะเรื่องการก าหนดสถานะ
ั
บุคคล การจัดตั้งถิ่นฐานถาวรและการได้รับการยอมรับรวมทั้งยุทธศาสตร์แนวทางการพัฒนาที่หน่วยต่าง ๆ
ก าหนดขึ้นยังหลากหลายขาดการก าหนดจุดมุ่งหมายในการด าเนินงานร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม