Page 224 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 224
หน้า ๒๑๒ ส่วนที่ ๓
๓. บ้านแม่กลองใหญ่ โรงเรียน ตชด.บ้านแม่กลองใหญ่ อ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก
บ้านแม่กลองใหญ่มีประชากรประมาณ ๒,๓๐๐ คน มีประมาณ ๔๐๐ กว่าครัวเรือน มีโรงเรียน ตชด.
บ้านแม่กลองใหญ่ ที่เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ปัจจุบันสังกัดองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดตาก ในหมู่บ้านไม่มีสถานบริการสาธารณสุข
ไม่มีไฟฟาหลักใช้ ถนนเป็นทางดินชาวบ้านต้องด าเนิน
้
สร้างถนนเองเนื่องจากไม่สามารถขออนุญาตสร้างถนน
้
และขอใช้ไฟฟาสายหลักได้ ปัจจุบันจึงเป็นไฟฟาที่ใช้จาก
้
้
ระบบกังหันน้ า และโซลาเซลจะขาดแคลนไฟฟาอย่างมาก
ในช่วงฤดูหนาวและฤดูแล้ง
นอกจากนี้ตัวแทนกลุ่มชาติพนธุ์ได้ให้ข้อมูลต่อคณะเดินทางว่า หมู่บ้านแม่กลองใหญ่
ั
ื้
ื้
ถูกเข้าใจว่าบุกรุกพนที่ป่ามาโดยตลอดทั้งที่มีบางส่วนอยู่มาก่อนการประกาศเป็นพนที่อนุรักษ์ รัฐกับ
ื้
ื้
ั
ประชาชนจะหนีกันไม่ได้จึงควรมีการกันเขตแดนพนที่ท ากินกับพนที่อนุรักษ์ให้ชัดเจน มีการพฒนาพนที่
ื้
ให้ใช้พื้นที่น้อยแต่ได้ผลผลิตมากหรือเท่าเดิม นอกจากนี้ถนน ไฟฟ้า ระบบสาธารณสุขจ าเป็นมากส าหรับที่นี่
คณะกรรมาธิการ ได้แจ้งให้ประชาชนและตัวแทนกลุ่มชาติพนธุ์ทราบว่า จะน าเรื่องนี้
ั
ิ
เข้าสู่การพจารณาของคณะกรรมาธิการ และแต่งตั้งคณะอนุกรรมาธิการขึ้นมาพจารณาศึกษาเรื่องนี้
ิ
โดยเร่งด่วนต่อไป ส่วนประเด็นการกันพื้นที่ตามที่ได้รับทราบจาก
ั
หัวหน้าเขตอนุรักษ์พนธุ์สัตว์ป่าอุ้มผางว่าจะมีการรังวัดจดแจ้ง
การใช้พนที่ใหม่ในปีงบประมาณหน้าให้แล้วเสร็จภายในเดือน
ื้
สิงหาคม ๒๕๖๓ ซึ่งจะท าให้เห็นพื้นที่ชัดเจนระหว่างพื้นที่ท ากิน
และพื้นที่อนุรักษ์ เมื่อมีการจดแจ้งขออนุญาตใช้สิ่งต่าง ๆ ในเรื่อง
้
สาธารณูปโภคก็จะตามมา แต่อย่างไรก็ดีในเรื่องไฟฟาต้อง
ด าเนินการโดยเร่งด่วนเพราะถือเป็นสิ่งจ าเป็นในการด ารงชีวิต
“กลุ่มชาติพนธุ์” หมายถึง กลุ่มชนที่มีความสืบเนื่องทางประวัติศาสตร์กับสังคมไทย
ั
มาตั้งแต่อดีต มีความแตกต่างด้านต่าง ๆ และมีวัฒนธรรมประเพณีของตนเอง โดยเป็นกลุ่มชนที่ประชากร
มีพันธะเกี่ยวข้องกัน มีลักษณะทางเชื้อชาติ วัฒนธรรมประเพณีและภาษาพูดเดียวกัน รวมตัวเป็นพหุวัฒนธรรม
ั
ั
มุ่งมั่นในการอนุรักษ์พฒนาและสืบทอดฐานดินแดนของบรรพบุรุษและอัตลักษณ์ทางชาติพนธุ์ของคน
สู่คนรุ่นอนาคต
ั
นับตั้งแต่อดีตมากกว่าร้อยปีกลุ่มชาติพนธุ์มีความหลากหลายและตั้งถิ่นฐานกระจาย
อยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทย จ านวน ๖๗ จังหวัด ๕๖ กลุ่ม มีประชากรรวมประมาณ ๖,๑๐๐,๐๐๐ คน
จ าแนกพื้นที่จากลักษณะการตั้งถิ่นฐานได้ ๔ ลักษณะ คือ
ั
ื้
๑) กลุ่มชาติพนธุ์บนพนที่สูง หรือ “ชนชาวเขา” จ านวน ๑๓ กลุ่ม ได้แก่ กะเหรี่ยง
ม้ง (แม้ว) เย้า (เมี่ยน) ลีซู (ลีซอ) ลาหู่ (มูเซอ) อาข่า (อีก้อ) ลั๊วะ ถิ่น ขมุ จีนฮ่อ ตองซู คะฉิ่น และ
ปะหล่อง (ดาลาอั้ง ๗)
๒) กลุ่มชาติพันธุ์ตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ราบ จ านวน ๓๘ กลุ่ม ได้แก่ มอญ ไทยลื้อ ไทยทรงด า
ไทยใหญ่ ไทยเขิน ไทยยอง ไทยหญ่า ไทยยวน ภูไท ลาวครั่ง ลาวแง้ว ลาวกา ลาวตี้ ลาวเวียง แสก
เซเร ปรัง บรู(โช่) โช่ง โช ทะวิง อึมปี ก๋อง กุลา ชอุโอจ (ชุอุ้ง๗ กูย(ส่วย) ญัฮกรู (ชาวบน) ญ้อ
โย้ย เขมรถิ่นไทย เวียดนาม(ญวน) เญอ หมี่ซอ(บีชู) ชอง กระชอง มลายู กะเลิงและลาวโช่ง (ไทยด า)