Page 227 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 227
ส่วนที่ ๓ หน้า ๒๑๕
๑) กลุ่ม A สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ๗๗ คน (คิดเป็นร้อยละ ๓๙.๔๘)
๒) กลุ่ม B สามารถช่วยเหลือตนเองได้บ้าง แต่มีภาวะเจ็บป่วย ๖๗ คน (คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๓๕)
๓) กลุ่ม C ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และเจ็บป่วยเรื้อรัง ๕๑ คน (คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๑๕)
๔) กลุ่มผู้สูงอายุที่มีอาการจิตเวช จ านวน ๑๐ คน (คิดเป็นร้อยละ ๕.๑๒)
ั
๓. ร้อยละ ๕๗ ของผู้สูงอายุทั้งหมดขาดผู้อุปการะดูแล จึงต้องเข้ารับบริการของศูนย์พฒนา
การจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางละมุง นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ได้แก่ ไม่มีที่อยู่อาศัย ไม่มีความสุข
ในการอยู่กับครอบครัว และฐานะยากจน
๔. ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุบ้านบางละมุง ด าเนินการจัดสวัสดิการทั้งหมด ๖ ด้าน ดังนี้
ื้
๔.๑ บริการด้านปัจจัยพนฐาน ๔ ประการ อันได้แก่ ที่อยู่
อาศัย ซึ่งแบ่งเป็นที่พกส าหรับ ชายและหญิง เครื่องนุ่งห่ม อาหาร
ั
และยารักษาโรค
๔.๒ การรักษาพยาบาลทั้งทางร่างกายและจิตใจตามความ
เหมาะสม ในกรณีร้ายแรงจะมีการส่งต่อโรงพยาบาลชลบุรีต่อไป
๔.๓ การฝึกทักษะอาชีพ ถ่ายทอดภูมิปัญญาและฝึกสมอง
๔.๔ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่างกาย โดยมีกิจกรรมกายบริหารประมาณ ๒๐ นาที
ทุกเช้าวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
๔.๕ กิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ อาทิ การฉายภาพยนตร์ กีฬา ร้องเพลง ฯลฯ
๔.๖ กิจกรรมทางศาสนา
๕. ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาสวัสดิการผู้สูงอายุ มีดังนี้
๕.๑ ในปัจจุบัน ถึงแม้สังคมไทยเริ่มตระหนักถึงการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แต่ยังคงขาด
ความเข้าใจในการแก้ปัญหาและคาดหวังให้ภาครัฐเป็นผู้แก้ไขปัญหา ทั้งนี้ การแก้ปัญหาที่ถูกต้องและยั่งยืน
จะต้องอาศัยความร่วมมือจากครอบครัว ชุมชน สังคมและภาครัฐ
๕.๒ เนื่องจากสังคมที่มีการแข่งขันและภาระการท างานต่าง ๆ ท าให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีน้อยลง
และผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งตามล าพัง
ั
๖. ในการนี้ ศูนย์พฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางละมุง เสนอแนะแนวทางการแก้ไข
ปัญหา ดังนี้
๖.๑ ขอให้คณะกรรมาธิการฯ สนับสนุนการจัดตั้ง
ั
ศูนย์พฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.)
ในระดับต าบลของกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคง
ั
ของมนุษย์ เพอเป็นการสร้างสังคมและสถานที่ให้กับผู้สูงอายุให้
ื่
ได้รับสิทธิสวัสดิการได้อย่างทั่วถึง
๖.๒ ขอให้คณะกรรมาธิการฯ ผลักดันการแก้ไข
ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ที่ไม่เอื้อต่อการท างานในการส่งเสริมสิทธิและการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ
อันเป็นภารกิจที่เกิดจากการส่งเสริมให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทในการดูแลผู้สูงอายุ
แต่การจัดกิจกรรมเหล่านี้ไม่ได้รับการเห็นชอบจากส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ท าให้การด าเนินงาน
ในระดับท้องถิ่นไม่ประสบความส าเร็จ